การเลี้ยงโคนมทดแทนที่”ผาตั้ง” ชม.และฟาร์มกลางสมาชิก 57คน

%e0%b8%a7%e0%b8%b1%e0%b8%99%e0%b9%82%e0%b8%84%e0%b8%99%e0%b8%a1%e0%b9%81%e0%b8%ab%e0%b9%88%e0%b8%87%e0%b8%8a%e0%b8%b2%e0%b8%95%e0%b8%b47กลุ่มเกษตรกรที่รวมตัวกันตั้งฟาร์มโคนม ปี 2559 ถือว่าเป็นเวลาที่ดำเนินการนำร่องในสหกรณ์ที่ดำเนินธุรกิจโคนมและฟาร์มกลางเลี้ยงโคนมทดแทนฝูงมีจำนวนแค่ 3 แห่งในพื้นที่ 3 จังหวัดอันได้แก่ เชียงใหม่ พัทลุง และนครราชสีมา

จังหวัดเชียงใหม่พื้นที่ของการเลี้ยงจะอยู่ในเขตอำเภอสันกำแพงกลุ่มของเกษตรกรผาตั้ง(แม่ออน) มีสมาชิกประมาณ 57 ฟาร์ม(คน) โดยมีการแลกเปลี่ยน(คอกกลาง) เหมือนกับธนาคารโคนั่นแหละฟาร์มใดก็ตามเมื่อมีผลผลิตจากพ่อพันธ์แม่พันธุ์ เมื่อเกิดลูกวัวขึ้นมาพร้อมที่จะไปฝากธนาคารกลาง(คอกกลาง) เลี้ยงดูหรืออนุบาลให้แข็งแรงที่นี่ย่อมดูแลให้ได้ในทุก ๆ ฟาร์ม

แต่เมื่อโตขึ้นจะมารับกลับ หรือขายต่อย่อมเป็นหน้าที่ของคอกกลางที่จะพิจารณาตามความต้องการของสมาชิกได้ทุกจุดประสงค์  เกษตรกรผู้ที่เลี้ยงโคนมส่วนใหญ่ร้อยละ 70 เป็นฟาร์มขนาดเล็กเฉลี่ยเลี้ยงแม่โคไม่เกิน 20 ตัว นั่นบางที่มีข้อจำกัดของพื้นที่ที่ไม่สามารถจะขยายให้ใหญ่กว่าเดิมได้original-1393164896970ข้อมูลของ”ธนาคารโคนมทดแทนฝูง”ค่อนข้างที่จะมีข้อมูลมากกว่าเนื้อที่ที่จะต้องเขียน เอาเหตุผลหลัก ๆ ของการดำเนินการนั่นคือ เพื่อรับฝากลูกในเพศเมียสามารถที่จะถอนคืนได้เป็นโคสาวท้องเพื่อให้เกษตรที่เป็นสมาชิกลดภาระในการเลี้ยง เพื่อให้เกษตรกรมีแม่โคนมที่มีคุณภาพไปทดแทนโคนมที่ปลดระวาง และเพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิต ให้สมาชิกมีรายได้เพิ่ม

โดยเฉพาะปศุสัตว์จังหวัดพร้อมแนะนำให้สหกรณ์โคนมในเรื่องของความรู้ในแต่ละช่วงในการผสมเทียม ฉีดวัคซีน สุขอนามัยสัตว์และอื่น ๆ การเลี้ยงแค่นมทดแทนให้มีคุณภาพ นั่นคือการสร้างโรงเรือนเลี้ยงลูกโคนมแต่ละช่วงตามวัยและตามหลักวิชาการ และให้สมาชิกนำลูกโคหย่านมอายุ 3 เดือน น้ำหนักที่ไม่เกิน 60 กิโลฯเข้าสู่โรงเลี้ยงคือฟาร์มกลางและขอบคุณข้อมูลกลุ่มส่งเสริมสำนักงานสหกรณ์เชียงใหม่

ร่วมแสดงความคิดเห็น