72222

แผ่นดินไหว ขนาด1.6 ลึก 3 กม. จุดศูนย์กลางอยู่ที่ ต.แม่ปั๋ง

วันที่ 3 กรกฎาคม 2568 กองเฝ้าระวังแผ่นดินไหวตรวจเชียงใหม่ได้รายงานมาว่า เมื่อเวลา 19:48 น วันที่ 3 กรกฎาคม 2568 ได้เกิดแผ่นดินไหว ขนาด 1.6, ลึก 3 กม. โดยมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่ ต.แม่ปั๋ง อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ ชาวบ้านในละแวกดังกล่าวรับรู้ถึงความรู้สึกเล็กน้อยยังไม่มีรายงานถึงความเสียหาย

แผ่นดินไหวขนาด 4.6 เมียนมา ชาวแม่สาย-เชียงราย รับรู้แรงสั่นสะเทือน

แผ่นดินไหวขนาด 4.6 เมียนมา ชาวแม่สาย-เชียงราย รับรู้แรงสั่นสะเทือน สำรวจเบื้องต้นยังไม่พบความเสียหาย เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2568 เวลา 20.28 น. ตามเวลาประเทศไทย กองเฝ้าระวังแผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยา รายงานการเกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 แมกนิจูด จุดศูนย์กลางอยู่ที่ประเทศเมียนมา บริเวณพิกัด 21.26°N, 99.626°E ลึกลงไปใต้ดินประมาณ 10 กิโลเมตร ห่างจาก อ.แม่สาย จ.เชียงราย ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ประมาณ 95 กิโลเมตร หลังเกิดเหตุ เจ้าหน้าที่ฝ่ายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอำเภอแม่สาย พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่เทศบาลและกำนันผู้ใหญ่บ้านในพื้นที่ ได้ออกสำรวจความเสียหายในเขตตัวเมืองแม่สาย ตลอดจนตำบลใกล้เคียง เบื้องต้น พบว่าชาวบ้านในหลายพื้นที่รับรู้แรงสั่นสะเทือนเล็กน้อย โดยเฉพาะอาคารสูงและบ้านเรือนชั้นสอง แต่ยังไม่พบรายงานความเสียหายต่อสิ่งปลูกสร้าง อาคาร หรือโบราณสถานสำคัญแต่อย่างใด สำหรับประชาชนในพื้นที่ หากพบเห็นสิ่งผิดปกติ เช่น รอยแตกร้าวของอาคาร หรือแรงสั่นสะเทือนเพิ่มเติม สามารถแจ้งได้ที่สายด่วน ปภ. 1784 หรือที่สำนักงานเทศบาลตำบลแม่สาย โทร. 053-731833

เกิดแผ่นดินไหวอีกครั้ง ที่จุดศูนย์กลางอยู่ที่ ต.โขล่งขอด ขนาด 2.2

วันที่ 3 มิย 68 กองเฝ้าระวังแผ่นดินไหวเชียงใหม่ได้รายงานว่า ได้เกิดแผ่นดินไหวที่เชียงใหม่ เมื่อเวลา 09:20 น ขนาด 2.2, ลึก 1 กม. จุดศูนย์กลางอยู่ที่ ต.โหล่งขอด อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ ชาวบ้านในระแวกดังกล่าวได้รับรู้สึก ยังไม่ได้รับรายงานความเสียหาย

เชียงใหม่ เช้านี้ อ.แม่แจ่ม เกิดแผ่นดินไหวขนาด 1.6 ไม่มีรายการการรับรู้

กองเฝ้าระวังแผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยาได้รายงานว่าที่ ตำบลท่าผา อำเภอแม่แจ่ม จังหวัเชียงใหม่ ได้เกิดแผ่นดินไหว ขนาด 1.6 ลึก 7 กม. วันที่ 3 มิถุนายน 2568 เวลา 07:20 น. ไม่มีการรายงานรับรู้และรายงานความเสียหายของบ้านเรือนประชาชน ขณะเดียวกันเมื่อวานนี้ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่เกิดแผ่นดินไหว 2 ครั้งเป็นครั้งแรกตำบลสบเปิง อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ ขนาด 1.7 ลึก 3 กม. วันที่ 2 มิถุนายน 2568 เวลา 11:36 น. แต่ครั้งที่ 2 ตำบลแม่ปั๋ง อำเภออำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ขนาด 4.5 ลึก 1 กม. วันที่ 2 มิถุนายน 2568 เวลา 14.07 น. สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดเชียงใหม่รายงานว่า แผ่นดินไหวครั้งนี้มีความรุนแรงในระดับเบา […]

ชาวบ้านมองช้าเกินไป หลัง ปภ.ส่งแจ้งเตือนแผ่นดินไหวช้าไป 10 นาที

ปภ.ส่งแจ้งเตือนแผ่นดินไหวช้าไป 10 นาที ชาวบ้านมองช้าเกินไป รายงานล่าสุดยังไม่พบตึกสูงเสียหาย เวลา 14.07 น. วันนี้ ( 2 มิ.ย.) เกิดแผ่นดินไหวเกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 มีศูนย์กลางอยู่ที่ตำบลแม่ปั๋ง อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ความลึก 1 กิโลเมตร คาดเกิดจากรอยเลื่อนแม่ทาซึ่งเป็น รอยเลื่อนมีพลังที่พาดผ่าน จ.เชียงใหม่ และ จ.ลำพูน โดยมีรายงานการรับรู้ถึงแรงสั่นสะเทือนได้เป็นวงกว้างหลายอำเภอของจังหวัดเชียงใหม่ ที่ส่วนใหญ่บอกว่าแรงจนทำให้บ้านสั่นเป็นระยะเวลาเกือบ 5 วินาที รวมทั้งในบางพื้นที่ของ จ.พะเยา จ.ลำพูน จ.ลำปาง เบื้องต้นยังไม่มีรายงานผู้บาดเจ็บ ผู้เสียชีวิต หรือ ความเสียหายที่เกิดขึ้นอาคารบ้านเรือนแต่อย่างใด สถานการณ์แผ่นดินไหวครั้งนี้เกิดขึ้นพบว่า กรม ปภ. มีการส่งข้อความแจ้งเตือนผ่านระบบเซลล์บรอดคาสต์ซึ่งประชาชนจำนวนมากได้รับการแจ้งเตือนหลังเกิดเหตุมากกว่า 10 นาที บางคนได้รับช้าไปกว่า 1 ชั่วโมง ทำให้ส่วนใหญ่เห็นว่าจะต้องปรับปรุงในเรื่องของความรวดเร็วของการแจ้งเตือน นายดุสิต พงศาพิพัฒน์ หัวหน้าสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธาธารณภัยจังหวัดเชียงใหม่ รายงานสถานที่สำคัญของจังหวัดเชียงใหม่ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ โรงพยาบาลนครพิงค์ ท่าอากาศยานเชียงใหม่ระบบขนส่งมวนชน ศาสนสถาน […]

ชลประทานเชียงใหม่ ตรวจสอบอ่างเก็บน้ำทุกพื้นที่ หลังแผ่นดินไหวที่ อ.พร้าว

ชลประทานเชียงใหม่ ตรวจสอบอ่างเก็บน้ำทุกพื้นที่ หลังแผ่นดินไหวแรง 4.5 ที่อำเภอพร้าว ยืนยันไม่ได้รับผลกระทบ วันที่ 2 มิ.ย. 68 เวลา 14.30 น. นายเกื้อกูล มานะสัมพันธ์สกุล ผู้อำนวยการโครงการชลประทานเชียงใหม่ เปิดเผยว่า จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 4.5 แมกนิจูด ความลึก 1 กิโลเมตร จุดศูนย์กลางอยู่ที่ ต.แม่ปั๋ง อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ ซึ่งมีความรุนแรงและส่งผลกระทบในหลายอำเภอ จึงได้สั่งการให้ นายชนม์ฐพัฒน์ เครือศรี หัวหน้าฝ่ายจัดสรรน้ำและปรับปรุงระบบชลประทาน โครงการชลประทานเชียงใหม่ พร้อมด้วยหัวหน้าฝ่ายส่งน้ำที่ 2 – 5 ตรวจสอบอ่างเก็บน้ำขนาดกลาง และขนาดเล็ก รวมถึงประตูระบายน้ำต่างๆ ว่าได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวดังกล่าวหรือไม่ ผลจากการตรวจสอบเบื้องต้น อ่างเก็บน้ำในพื้นที่เขตรับผิดชอบ ไม่ได้รับผลกระทบแต่อย่างใด ยังอยู่ในสภาพมั่นคงแข็งแรง ซึ่งได้สั่งการให้เจ้าหน้าที่เฝ้าติดตามสถานการณ์อย่างต่อเนื่อง และให้รายงานสถานการณ์ให้ทราบเป็นระยะ

เชียงใหม่ เกิดแผ่นดินไหว 1.7 ต.สบเปิง อ.แม่แตง ยังไม่มีรายงานการรับรู้

กองเฝ้าระวัง แผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยา ได้รายงานเกิดแผ่นดินไหวขึ้น ตำบลสบเปิง อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ ขนาด 1.7 ลึก 3 กม. วันที่ 2 มิถุนายน 2568 เวลา 11:36 น. เบื้องต้นยังไม่มีรายงานการรับรู้ของแผ่นดินไหวครั้งนี้ ซึ่งเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2568 ได้เกิดแผ่นดินไหวัง ถึง 3 ครั้งติดต่อกัน ครั้งแรก ขนาด 2.6 ลึก 2 กม. วันที่ 31 พฤษภาคม 2568 เวลา 20:51 น. ครั้งที่ 2 – 3 เกิดหากกันเพียง 3 นาที ขนาด 1.4 ลึก 2 กม. วันที่ 31 […]

แผ่นดินไหว ขนาด1.6 ลึก 3 กม. จุดศูนย์กลางอยู่ที่ ต.แม่ปั๋ง

วันที่ 3 กรกฎาคม 2568 กองเฝ้าระวังแผ่นดินไหวตรวจเชียงใหม่ได้รายงานมาว่า เมื่อเวลา 19:48 น วันที่ 3 กรกฎาคม 2568 ได้เกิดแผ่นดินไหว ขนาด 1.6, ลึก 3 กม. โดยมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่ ต.แม่ปั๋ง อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ ชาวบ้านในละแวกดังกล่าวรับรู้ถึงความรู้สึกเล็กน้อยยังไม่มีรายงานถึงความเสียหาย

แผ่นดินไหวขนาด 4.6 เมียนมา ชาวแม่สาย-เชียงราย รับรู้แรงสั่นสะเทือน

แผ่นดินไหวขนาด 4.6 เมียนมา ชาวแม่สาย-เชียงราย รับรู้แรงสั่นสะเทือน สำรวจเบื้องต้นยังไม่พบความเสียหาย เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2568 เวลา 20.28 น. ตามเวลาประเทศไทย กองเฝ้าระวังแผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยา รายงานการเกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.6 แมกนิจูด จุดศูนย์กลางอยู่ที่ประเทศเมียนมา บริเวณพิกัด 21.26°N, 99.626°E ลึกลงไปใต้ดินประมาณ 10 กิโลเมตร ห่างจาก อ.แม่สาย จ.เชียงราย ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ประมาณ 95 กิโลเมตร หลังเกิดเหตุ เจ้าหน้าที่ฝ่ายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอำเภอแม่สาย พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่เทศบาลและกำนันผู้ใหญ่บ้านในพื้นที่ ได้ออกสำรวจความเสียหายในเขตตัวเมืองแม่สาย ตลอดจนตำบลใกล้เคียง เบื้องต้น พบว่าชาวบ้านในหลายพื้นที่รับรู้แรงสั่นสะเทือนเล็กน้อย โดยเฉพาะอาคารสูงและบ้านเรือนชั้นสอง แต่ยังไม่พบรายงานความเสียหายต่อสิ่งปลูกสร้าง อาคาร หรือโบราณสถานสำคัญแต่อย่างใด สำหรับประชาชนในพื้นที่ หากพบเห็นสิ่งผิดปกติ เช่น รอยแตกร้าวของอาคาร หรือแรงสั่นสะเทือนเพิ่มเติม สามารถแจ้งได้ที่สายด่วน ปภ. 1784 หรือที่สำนักงานเทศบาลตำบลแม่สาย โทร. 053-731833

เกิดแผ่นดินไหวอีกครั้ง ที่จุดศูนย์กลางอยู่ที่ ต.โขล่งขอด ขนาด 2.2

วันที่ 3 มิย 68 กองเฝ้าระวังแผ่นดินไหวเชียงใหม่ได้รายงานว่า ได้เกิดแผ่นดินไหวที่เชียงใหม่ เมื่อเวลา 09:20 น ขนาด 2.2, ลึก 1 กม. จุดศูนย์กลางอยู่ที่ ต.โหล่งขอด อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ ชาวบ้านในระแวกดังกล่าวได้รับรู้สึก ยังไม่ได้รับรายงานความเสียหาย

เชียงใหม่ เช้านี้ อ.แม่แจ่ม เกิดแผ่นดินไหวขนาด 1.6 ไม่มีรายการการรับรู้

กองเฝ้าระวังแผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยาได้รายงานว่าที่ ตำบลท่าผา อำเภอแม่แจ่ม จังหวัเชียงใหม่ ได้เกิดแผ่นดินไหว ขนาด 1.6 ลึก 7 กม. วันที่ 3 มิถุนายน 2568 เวลา 07:20 น. ไม่มีการรายงานรับรู้และรายงานความเสียหายของบ้านเรือนประชาชน ขณะเดียวกันเมื่อวานนี้ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่เกิดแผ่นดินไหว 2 ครั้งเป็นครั้งแรกตำบลสบเปิง อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ ขนาด 1.7 ลึก 3 กม. วันที่ 2 มิถุนายน 2568 เวลา 11:36 น. แต่ครั้งที่ 2 ตำบลแม่ปั๋ง อำเภออำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ขนาด 4.5 ลึก 1 กม. วันที่ 2 มิถุนายน 2568 เวลา 14.07 น. สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดเชียงใหม่รายงานว่า แผ่นดินไหวครั้งนี้มีความรุนแรงในระดับเบา […]

ชาวบ้านมองช้าเกินไป หลัง ปภ.ส่งแจ้งเตือนแผ่นดินไหวช้าไป 10 นาที

ปภ.ส่งแจ้งเตือนแผ่นดินไหวช้าไป 10 นาที ชาวบ้านมองช้าเกินไป รายงานล่าสุดยังไม่พบตึกสูงเสียหาย เวลา 14.07 น. วันนี้ ( 2 มิ.ย.) เกิดแผ่นดินไหวเกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.5 มีศูนย์กลางอยู่ที่ตำบลแม่ปั๋ง อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ความลึก 1 กิโลเมตร คาดเกิดจากรอยเลื่อนแม่ทาซึ่งเป็น รอยเลื่อนมีพลังที่พาดผ่าน จ.เชียงใหม่ และ จ.ลำพูน โดยมีรายงานการรับรู้ถึงแรงสั่นสะเทือนได้เป็นวงกว้างหลายอำเภอของจังหวัดเชียงใหม่ ที่ส่วนใหญ่บอกว่าแรงจนทำให้บ้านสั่นเป็นระยะเวลาเกือบ 5 วินาที รวมทั้งในบางพื้นที่ของ จ.พะเยา จ.ลำพูน จ.ลำปาง เบื้องต้นยังไม่มีรายงานผู้บาดเจ็บ ผู้เสียชีวิต หรือ ความเสียหายที่เกิดขึ้นอาคารบ้านเรือนแต่อย่างใด สถานการณ์แผ่นดินไหวครั้งนี้เกิดขึ้นพบว่า กรม ปภ. มีการส่งข้อความแจ้งเตือนผ่านระบบเซลล์บรอดคาสต์ซึ่งประชาชนจำนวนมากได้รับการแจ้งเตือนหลังเกิดเหตุมากกว่า 10 นาที บางคนได้รับช้าไปกว่า 1 ชั่วโมง ทำให้ส่วนใหญ่เห็นว่าจะต้องปรับปรุงในเรื่องของความรวดเร็วของการแจ้งเตือน นายดุสิต พงศาพิพัฒน์ หัวหน้าสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธาธารณภัยจังหวัดเชียงใหม่ รายงานสถานที่สำคัญของจังหวัดเชียงใหม่ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ โรงพยาบาลนครพิงค์ ท่าอากาศยานเชียงใหม่ระบบขนส่งมวนชน ศาสนสถาน […]

ชลประทานเชียงใหม่ ตรวจสอบอ่างเก็บน้ำทุกพื้นที่ หลังแผ่นดินไหวที่ อ.พร้าว

ชลประทานเชียงใหม่ ตรวจสอบอ่างเก็บน้ำทุกพื้นที่ หลังแผ่นดินไหวแรง 4.5 ที่อำเภอพร้าว ยืนยันไม่ได้รับผลกระทบ วันที่ 2 มิ.ย. 68 เวลา 14.30 น. นายเกื้อกูล มานะสัมพันธ์สกุล ผู้อำนวยการโครงการชลประทานเชียงใหม่ เปิดเผยว่า จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 4.5 แมกนิจูด ความลึก 1 กิโลเมตร จุดศูนย์กลางอยู่ที่ ต.แม่ปั๋ง อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ ซึ่งมีความรุนแรงและส่งผลกระทบในหลายอำเภอ จึงได้สั่งการให้ นายชนม์ฐพัฒน์ เครือศรี หัวหน้าฝ่ายจัดสรรน้ำและปรับปรุงระบบชลประทาน โครงการชลประทานเชียงใหม่ พร้อมด้วยหัวหน้าฝ่ายส่งน้ำที่ 2 – 5 ตรวจสอบอ่างเก็บน้ำขนาดกลาง และขนาดเล็ก รวมถึงประตูระบายน้ำต่างๆ ว่าได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวดังกล่าวหรือไม่ ผลจากการตรวจสอบเบื้องต้น อ่างเก็บน้ำในพื้นที่เขตรับผิดชอบ ไม่ได้รับผลกระทบแต่อย่างใด ยังอยู่ในสภาพมั่นคงแข็งแรง ซึ่งได้สั่งการให้เจ้าหน้าที่เฝ้าติดตามสถานการณ์อย่างต่อเนื่อง และให้รายงานสถานการณ์ให้ทราบเป็นระยะ

เชียงใหม่ เกิดแผ่นดินไหว 1.7 ต.สบเปิง อ.แม่แตง ยังไม่มีรายงานการรับรู้

กองเฝ้าระวัง แผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยา ได้รายงานเกิดแผ่นดินไหวขึ้น ตำบลสบเปิง อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ ขนาด 1.7 ลึก 3 กม. วันที่ 2 มิถุนายน 2568 เวลา 11:36 น. เบื้องต้นยังไม่มีรายงานการรับรู้ของแผ่นดินไหวครั้งนี้ ซึ่งเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2568 ได้เกิดแผ่นดินไหวัง ถึง 3 ครั้งติดต่อกัน ครั้งแรก ขนาด 2.6 ลึก 2 กม. วันที่ 31 พฤษภาคม 2568 เวลา 20:51 น. ครั้งที่ 2 – 3 เกิดหากกันเพียง 3 นาที ขนาด 1.4 ลึก 2 กม. วันที่ 31 […]

เกิดแผ่นดินไหวที่เชียงใหม่ 3 ครั้ง 3 อำเภอ ไม่มีรายงานความเสียหาย

วันที่ 28 พฤษภาคม 2568 กองเฝ้าระวังแผ่นดินไหวจังหวัดเชียงใหม่ได้รายงานว่าที่เชียงใหม่ได้เกิดแผ่นดินไหว เมื่อเวลา 04.19 น ขนาด 1.6, ลึก 1 กม. จุดศูนย์กลางอยู่ที่ ต.แม่สูน อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ ชาวบ้านในตำบลแม่สูน สามารถรับรู้ถึงความรู้สึกได้ไม่มีรายงานความเสียหาย ต่อมา วันที่ 28 พค 68 กองเฝ้าระวังแผ่นดินไหวจังหวัดเชียงใหม่ได้รายงานมาว่า ได้เกิดแผ่นดินไหวขึ้นอีกครั้ง เมื่อเวลา 20.18 นขนาด 1.4, ลึก 1 กม. จุดศูนย์กลางอยู่ที่ต.กองแขก อ.แม่แจ่ม จ เชียงใหม่ ชาวบ้านดังกล่าวรับรู้ถึงความรู้สึกการเกิดการเคลื่อนไหวไม่มีรายงานความเสียหาย ต่อมา วันที่ 28 พฤษภาคม 2518 กองเฝ้าระวังแผ่นดินไหวส่วนเชียงใหม่ได้รายงานมาอีกครั้งว่า ได้เกิดแผ่นดินไหวอีกครั้ง เมื่อเวลา 21.32 น ขนาด 2.0, ลึก 2 กม. จุดศูนย์กลางอยู่ที่ ต.บ้านจันทร์ […]

เกิดแผ่นดินไหว ศูนย์กลางอยู่ที่ ต.สันปูเลย ไม่มีรายงานความเสียหาย

วันที่ 26 พฤษภาคม 2568 ทางกองเฝ้าระวังแผ่นดินไหวตัวเชียงใหม่ ได้รายงานมาว่าเกิดแผ่นดินไหว ขนาด 1.3, ลึก 2 กม. เวลา 19,39 น จุดศูนย์กลางอยู่ที่ ต.สันปูเลย อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ โดยชาวบ้านในละแวกดังกล่าว ได้รับความรู้สึกเล็กน้อย ทางหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ส่งเจ้าที่เร่งตรวจสอบถึงความเสียหายครั้งนี้ ในเบื้องต้นยังไม่ได้รับรายงานความเสียหายแต่อย่างใด

NARIT เปิดตัว “กล้องโทรทรรศน์แบบวีกอส” แห่งแรกในไทยที่ อ.ดอยสะเก็ด

ไทย-จีน ร่วมพิธีเปิดกล้องโทรทรรศน์แบบวีกอส (VGOS) แห่งแรกในไทยที่เชียงใหม่ สำหรับใช้ศึกษาการเคลื่อนที่ของเปลือกโลก คาดการณ์แผ่นดินไหว 16 พฤษภาคม 2568 – เชียงใหม่ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.​ หรือ NARIT) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) จัดพิธีเปิดกล้องโทรทรรศน์วิทยุแบบวีกอส (VGOS: VLBI Geodetic Observing System Radio Telescope) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 13 เมตร ภายใต้ความร่วมมือไทย-จีนอย่างเป็นทางการ ณ หอสังเกตการณ์ดาราศาสตร์วิทยุแห่งชาติ ภายในศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชดำริ อ. ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ กล้องโทรทรรศน์วิทยุแบบวีกอส ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 13 เมตร เป็นความร่วมมือระหว่าง สดร. และหอดูดาวเซี่ยงไฮ้ ภายใต้สถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์จีน สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติรับผิดชอบจัดหาพื้นที่ เพื่อสร้างอาคารรองรับกล้องโทรทรรศน์วิทยุ ส่วนหอดูดาวเซี่ยงไฮ้ รับผิดชอบการผลิต และประกอบกล้องโทรทรรศน์วิทยุ รวมถึงติดตั้งอุปกรณ์รับสัญญาณ มูลค่ารวมกว่า […]

ปภ.เผยความคืบหน้าการจ่ายเงินค่าจัดการศพผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (แผ่นดินไหว)

ปภ. เผยความคืบหน้าการจ่ายเงินค่าจัดการศพผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (แผ่นดินไหว) พร้อมมอบเงินค่าจัดการศพฯ แก่ทายาทผู้เสียชีวิต 2 ราย ณ กรมป้องกันฯ วันนี้ (16 พ.ค. 68) เวลา 15.00 น. ณ ห้องรับรอง อาคาร 3 ชั้น 2 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย นายภาสกร บุญญลักษม์ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) มอบเงินค่าจัดการศพผู้ประสบภัยกรณีฉุกเฉิน (แผ่นดินไหว) แก่ทายาทของผู้เสียชีวิตจากเหตุอาคารสำนักงานตรวจเงินแผ่นดินซึ่งอยู่ในระหว่างการก่อสร้างถล่ม จำนวน 2 ราย โดยมีนางสาวชัชดาพร บุญพีระณัช นายสหรัฐ วงศ์สกุลวิวัฒน์ นายชัยรัตน์ แก้วเพียงเพ็ญ รองอธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และผู้บริหารกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยร่วมในพิธี นายภาสกร บุญญลักษม์ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เปิดเผยว่า เหตุการณ์แผ่นดินไหวที่ประเทศเมียนมา เมื่อวันที่ 28 มี.ค. 68 ที่ผ่านมา ทำให้เกิดความเสียหายขึ้นในหลายพื้นที่ของประเทศไทย โดยมีรายงานเกิดความเสียหายขึ้นในพื้นที่ 18 จังหวัด […]

ตรวจพบแผ่นดินไหวในช่วงวันที่ 13-14 พฤษภาคม 2568

สำหรับสถานการณ์แผ่นดินไหวในช่วงวันที่ 13-14 พฤษภาคม 2568 ตรวจพบเหตุการณ์แผ่นดินไหว มีศูนย์กลางอยู่ที่ประเทศเมียนมา จำนวน 7 ครั้ง ขนาด 3.6, 2.7 มีศูนย์กลางอยู่ที่พรมแดนประเทศลาว – ประเทศจีน ขนาด 2.6 มีศูนย์กลางอยู่ที่ต.เวียงเหนือ อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน และขนาด 1.3 มีศูนย์กลางอยู่ที่ต.แม่แตง อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่ ไม่มีผลกระทบต่อประเทศไทยแต่อย่างใด

1 2 3 22