67437

รายการสุขภาพดีกับหมอสวนดอก ตอน “รู้ทันสัญญาณเตือน “สโตรก” รักษาไม่ทัน อาจอันตรายถึงชีวิต”

รู้ทันสัญญาณเตือน 🔍“สโตรก”รักษาไม่ทัน อาจอันตรายถึงชีวิต🩺 📍ขอเชิญติดตามรับชม “รายการสุขภาพดีกับหมอสวนดอก”วันพุธที่ 2 กรกฎาคม 2568 เวลา 13.30น. 👨🏻‍⚕️ โดย อ.นพ.ชญาศักดิ์ วันทนียวงค์อาจารย์ประจำหน่วยวิชาประสาทวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์และ หัวหน้าคลินิกโรคพาร์กินสัน คณะแพทยศาสตร์ มช. ติดตามรับชมได้ที่ ..Youtube Suandok Channel: https://cmu.to/jzMwnFacebook สุขภาพดีกับหมอสวนดอก: https://cmu.to/39tji #รู้ทันสัญญาณเตือน#สโตรก#รักษาไม่ทัน #อันตรายถึงชีวิต#สุขภาพดีกับหมอสวนดอก#MedCMU #คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่#แพทย์เชียงใหม่ #แพทย์มช #หมอสวนดอก#โรงพยาบาลสวนดอก #Medcmuในมือคุณ #สื่อสารองค์กรMedcmu

แพทย์ทหารแนะ “ให้ตระหนักถึงอันตรายของสารหนู หากร่างกายได้รับในปริมาณที่สูง”

แพทย์ทหารแนะ “ให้ตระหนักถึงอันตรายของสารหนู หากร่างกายได้รับในปริมาณที่สูง” จากข้อมูลของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พบว่า สารหนู (Arsenic) เป็นโลหะที่พบได้ในธรรมชาติ โดยเฉพาะในน้ำใต้ดิน หรือพื้นที่อุตสาหกรรม เช่น เหมืองแร่ หากร่างกายได้รับสารหนูในปริมาณสูง หรือสะสมต่อเนื่องเป็นเวลานาน อาจส่งผลกระทบต่อระบบต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น ระบบประสาท ระบบทางเดินอาหาร ระบบทางเดินหายใจ และระบบผิวหนัง หากได้รับสารหนูในระยะเฉียบพลัน อาจส่งผลต่อผิวหนัง เช่น ผิวแดง คัน บวม หรือรู้สึกแสบร้อนบริเวณมือและเท้า บางรายอาจมีอาการลมพิษ รวมถึงมีแถบสีขาวบนเล็บ (Mee’s lines) ซึ่งมักปรากฏภายหลังการสัมผัสสารหนูประมาณ 8 สัปดาห์ ซึ่งการได้รับสารหนูในระยะยาว อาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของผิวหนัง เช่น ผิวคล้ำหรือเข้มขึ้น โดยเฉพาะบริเวณรักแร้ ขาหนีบ ฝ่ามือ และฝ่าเท้า โดยอาจมีจุดสีซีดแทรกอยู่บนผิวคล้ำ เรียกว่า “Raindrop on a dusty road” และอาจพบอาการผมร่วงร่วมด้วย หรือตุ่มนูนแข็งสีเหลืองคล้ายเมล็ดข้าวโพด (Arsenical […]

ตกขาวเปลี่ยนไป หรือสุขภาพภายในกำลังส่งสัญญาณเตือน?

⚠️ตกขาวเปลี่ยนไป หรือสุขภาพภายในกำลังส่งสัญญาณเตือน? ❓“ตกขาว” คืออะไร?ตกขาว คือสารคัดหลั่งตามธรรมชาติจากช่องคลอดของผู้หญิง โดยมักเริ่มมีเมื่อเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ (ประมาณอายุ 14–15 ปี) สารคัดหลั่งนี้มีหน้าที่ช่วยให้ช่องคลอดชุ่มชื้น ป้องกันการติดเชื้อ และมีบทบาทสำคัญในกระบวนการเจริญพันธุ์ ❇️ลักษณะของตกขาวปกติ:• สีขาวใสหรือขาวขุ่น• ไม่มีกลิ่นเหม็นหรือกลิ่นคาว• มีปริมาณมากขึ้นในช่วงวันไข่ตก• ไม่ทำให้รู้สึกระคายเคืองหรือคัน ‼️ตกขาวผิดปกติ: สัญญาณเตือนที่ต้องใส่ใจการเปลี่ยนแปลงของตกขาวอาจสะท้อนความผิดปกติของอวัยวะภายในสตรี หากพบสิ่งต่อไปนี้ควรรีบปรึกษาแพทย์: ❇️สาเหตุของตกขาวผิดปกติ ❓ใครบ้างเสี่ยงต่อการเกิดตกขาวผิดปกติ?• หญิงตั้งครรภ์ : ฮอร์โมนและภูมิคุ้มกันเปลี่ยนแปลง• ผู้ที่ใช้ยาคุมหรือยาปฏิชีวนะบ่อย• ผู้ที่สวนล้างช่องคลอดเป็นประจำ• ผู้ที่ใส่เสื้อผ้ารัดแน่น อับชื้น• ผู้มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน• ผู้มีโรคประจำตัว เช่น เบาหวาน ภูมิคุ้มกันบกพร่อง ❇️การป้องกันตกขาวผิดปกติ• หลีกเลี่ยงการสวนล้างช่องคลอด• เลือกเสื้อผ้าที่ระบายอากาศได้ดี ไม่รัดแน่นเกินไป• รักษาความสะอาดเฉพาะภายนอกด้วยสบู่อ่อนหรือน้ำสะอาด• ใช้ถุงยางอนามัยเพื่อป้องกันการติดเชื้อ• ตรวจภายในเป็นประจำตามคำแนะนำของแพทย์ ❇️การรักษาตกขาวผิดปกติหากพบว่ามีตกขาวผิดปกติ ควรพบแพทย์เพื่อรับการวินิจฉัยอย่างถูกต้อง การรักษาอาจประกอบด้วย:• ยารับประทาน• ยาสอด• ยาฉีด (ขึ้นอยู่กับสาเหตุ) การวินิจฉัยที่รวดเร็วและการรักษาที่เหมาะสมช่วยลดภาวะแทรกซ้อน และเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้หญิงในระยะยาว ✳️ตรวจภายใน: สิ่งที่ผู้หญิงไม่ควรมองข้ามการตรวจภายในปีละ 1 ครั้ง จะช่วยเฝ้าระวัง […]

รายการสุขภาพดีกับหมอสวนดอก ตอน “เช็คก่อนสาย! รู้ได้อย่างไร ว่าหัวใจเริ่มมีปัญหา”

📍ขอเชิญติดตามรับชม “รายการสุขภาพดีกับหมอสวนดอก”ตอน .. เช็คก่อนสาย! 🔍รู้ได้อย่างไร ว่าหัวใจเริ่มมีปัญหา 🫀🩺 👩🏻‍⚕️ โดย อ.พญ.ทรรศลักษณ์ ทองหงษ์อาจารย์ประจำหน่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มช. ติดตามรับชมได้ที่ ..Youtube Suandok Channel: https://www.youtube.com/live/k_jefxBKs38?si=fU4k3mXOXO2luNmoFacebook สุขภาพดีกับหมอสวนดอก: https://www.facebook.com/share/v/1AYkHdRj52/?mibextid=wwXIfr #เช็คก่อนสาย #รู้ได้อย่างไร#หัวใจเริ่มมีปัญหา#สุขภาพดีกับหมอสวนดอก#MedCMU #คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่#แพทย์เชียงใหม่ #แพทย์มช #หมอสวนดอก#โรงพยาบาลสวนดอก #Medcmuในมือคุณ #สื่อสารองค์กรMedcmu

แพทย์ทหารร่วมรณรงค์ “สร้างอนาคตปลอดภัย ไม่ป่วยด้วยไข้เลือดออก”

จากข้อมูลของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พบว่าในช่วงนี้ มีโอกาสพบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกเพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นโรคติดต่อที่นำโดยยุงลาย เนื่องจากมีฝนตกลงมาในหลายพื้นที่ของประเทศ ทำให้มีน้ำขังตามภาชนะต่างๆ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลาย ชอบวางไข่ในภาชนะต่างๆ ที่มีน้ำขัง โดยเฉพาะภาชนะใส่น้ำใช้, ภาชนะที่ไม่ใช้แล้ว, อ่างบัว, ยางรถยนต์ที่ไม่ใช้แล้ว ซึ่งภาชนะเหล่านี้ จะมีกระจัดกระจายอยู่ทั่วไปในชุมชน หรือในบ้าน เป็นปัจจัยสนับสนุนให้เกิดการระบาดของโรคได้ ในการนี้ พลโท กิตติพงษ์ แจ่มสุวรรณ แม่ทัพภาคที่ 3/ผู้บัญชาการศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กองทัพภาคที่ 3 และคณะแพทย์ทหาร มีความห่วงใยจากภัยดังกล่าว ต่อข้าราชการทหาร ในสังกัดกองทัพภาคที่ 3 รวมทั้งพี่น้องประชาชน ในพื้นที่ 17 จังหวัดภาคเหนือ จึงขอเชิญชวนประชาชนทุกท่าน ร่วมกันตรวจภาชนะที่มีน้ำขัง และเก็บกวาดภาชนะที่ไม่ใช้แล้ว กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายแบบง่าย ๆ ตามมาตรการ 3 เก็บ ดังนี้ 1) เก็บขยะ เศษภาชนะที่มีน้ำขัง ป้องกันไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 2) เก็บกวาด บ้านให้สะอาด ปลอดโปร่ง ป้องกันยุงลายเกาะพัก และ 3) […]

โรคไข้เลือดออก เป็นครั้งที่ 2 ต้องระวัง เป็นซ้ำ อาการรุนแรง

🦟 โรคไข้เลือดออก เป็นครั้งที่ 2 ต้องระวัง เป็นซ้ำ อาการรุนแรง วิทยากรโดย รศ.ดร.พญ.ทวิติยา สุจริตรักษ์ อาจารย์ประจำสาขาโรคติดเชื้อ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มช. 📍รับชมผ่านFacebook: https://cmu.to/w2tU3Youtube: https://cmu.to/Vk4aP #ไข้เลือดออก #วัคซีนไข้เลือดออก #MedCMU #คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ #แพทย์เชียงใหม่ #แพทย์มช #หมอสวนดอก #โรงพยาบาลสวนดอก #MedCMUในมือคุณ #สื่อสารองค์กรMedCMU

ปภ. แนะรับมือ – รู้รอดปลอดภัยจากคลื่นสึนามิ

กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) กระทรวงมหาดไทย ขอแนะข้อควรรู้และวิธีปฏิบัติตนเมื่อเกิดคลื่นสึนามิ โดยตรวจสอบสภาพความเสี่ยงภัยสึนามิในพื้นที่ เพื่อวางแผนอพยพได้อย่างปลอดภัย เรียนรู้ความหมายของป้ายสัญลักษณ์และเสียงสัญญาณเตือนภัย รวมถึงเข้าร่วมฝึกซ้อมแผนอพยพหนีภัยสึนามิ จัดเตรียมสิ่งของไว้ใช้ยามฉุกเฉิน ให้พร้อมนำไปใช้งานได้ทันที สังเกตความผิดปกติทางธรรมชาติ รวมถึงติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์ภัย หากมีประกาศแจ้งเตือนภัยคลื่นสึนามิให้อพยพไปยังพื้นที่ปลอดภัยทันที นายภาสกร บุญญลักษม์ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) เปิดเผยว่า คลื่นสึนามิเป็นภัยพิบัติที่เกิดจากการเคลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลกใต้มหาสมุทรอย่างฉับพลัน ทำให้น้ำทะเลก่อตัวเป็นคลื่นขนาดใหญ่ และซัดถล่มพื้นที่ชายฝั่งอย่างรุนแรง ก่อให้เกิดความเสียหายเป็นบริเวณกว้าง กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) ขอแนะข้อควรรู้และวิธีรับมือคลื่นสึนามิ ดังนี้ ตรวจสอบสภาพความเสี่ยงภัยสึนามิในพื้นที่ อาทิ ระยะห่างและความสูงจากระดับน้ำทะเลของบ้าน โรงเรียน สถานที่ทำงาน สถานที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผนอพยพได้อย่างปลอดภัย รู้รับมือคลื่นสึนามิอย่างถูกวิธี ศึกษาและจดจำเส้นทางอพยพที่ใกล้ที่สุด พร้อมเรียนรู้ความหมายของป้ายสัญลักษณ์และเสียงสัญญาณเตือนภัย รวมถึงเข้าร่วมฝึกซ้อมการแจ้งเตือนภัยและอพยพหนีภัยสึนามิ เพื่อให้มีทักษะรู้รอดปลอดภัยจากสึนามิ จัดเตรียมสิ่งของไว้ใช้ยามฉุกเฉิน และจัดเก็บไว้ในจุดที่สามารถนำไปใช้งานได้ทันที สังเกตความผิดปกติทางธรรมชาติ อาทิ แผ่นดินไหวใต้มหาสมุทร น้ำทะเลลดลงอย่างรวดเร็วมีฝูงสัตว์น้ำจำนวนมากใกล้ชายฝั่ง ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์ภัย หากมีประกาศแจ้งเตือนภัยคลื่นสึนามิให้อพยพไปยังพื้นที่ปลอดภัยทันที พร้อมปฏิบัติตามคำแนะนำของทางราชการอย่างเคร่งครัด

รายการสุขภาพดีกับหมอสวนดอก ตอน “รู้ทันสัญญาณเตือน “สโตรก” รักษาไม่ทัน อาจอันตรายถึงชีวิต”

รู้ทันสัญญาณเตือน 🔍“สโตรก”รักษาไม่ทัน อาจอันตรายถึงชีวิต🩺 📍ขอเชิญติดตามรับชม “รายการสุขภาพดีกับหมอสวนดอก”วันพุธที่ 2 กรกฎาคม 2568 เวลา 13.30น. 👨🏻‍⚕️ โดย อ.นพ.ชญาศักดิ์ วันทนียวงค์อาจารย์ประจำหน่วยวิชาประสาทวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์และ หัวหน้าคลินิกโรคพาร์กินสัน คณะแพทยศาสตร์ มช. ติดตามรับชมได้ที่ ..Youtube Suandok Channel: https://cmu.to/jzMwnFacebook สุขภาพดีกับหมอสวนดอก: https://cmu.to/39tji #รู้ทันสัญญาณเตือน#สโตรก#รักษาไม่ทัน #อันตรายถึงชีวิต#สุขภาพดีกับหมอสวนดอก#MedCMU #คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่#แพทย์เชียงใหม่ #แพทย์มช #หมอสวนดอก#โรงพยาบาลสวนดอก #Medcmuในมือคุณ #สื่อสารองค์กรMedcmu

แพทย์ทหารแนะ “ให้ตระหนักถึงอันตรายของสารหนู หากร่างกายได้รับในปริมาณที่สูง”

แพทย์ทหารแนะ “ให้ตระหนักถึงอันตรายของสารหนู หากร่างกายได้รับในปริมาณที่สูง” จากข้อมูลของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พบว่า สารหนู (Arsenic) เป็นโลหะที่พบได้ในธรรมชาติ โดยเฉพาะในน้ำใต้ดิน หรือพื้นที่อุตสาหกรรม เช่น เหมืองแร่ หากร่างกายได้รับสารหนูในปริมาณสูง หรือสะสมต่อเนื่องเป็นเวลานาน อาจส่งผลกระทบต่อระบบต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น ระบบประสาท ระบบทางเดินอาหาร ระบบทางเดินหายใจ และระบบผิวหนัง หากได้รับสารหนูในระยะเฉียบพลัน อาจส่งผลต่อผิวหนัง เช่น ผิวแดง คัน บวม หรือรู้สึกแสบร้อนบริเวณมือและเท้า บางรายอาจมีอาการลมพิษ รวมถึงมีแถบสีขาวบนเล็บ (Mee’s lines) ซึ่งมักปรากฏภายหลังการสัมผัสสารหนูประมาณ 8 สัปดาห์ ซึ่งการได้รับสารหนูในระยะยาว อาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของผิวหนัง เช่น ผิวคล้ำหรือเข้มขึ้น โดยเฉพาะบริเวณรักแร้ ขาหนีบ ฝ่ามือ และฝ่าเท้า โดยอาจมีจุดสีซีดแทรกอยู่บนผิวคล้ำ เรียกว่า “Raindrop on a dusty road” และอาจพบอาการผมร่วงร่วมด้วย หรือตุ่มนูนแข็งสีเหลืองคล้ายเมล็ดข้าวโพด (Arsenical […]

ตกขาวเปลี่ยนไป หรือสุขภาพภายในกำลังส่งสัญญาณเตือน?

⚠️ตกขาวเปลี่ยนไป หรือสุขภาพภายในกำลังส่งสัญญาณเตือน? ❓“ตกขาว” คืออะไร?ตกขาว คือสารคัดหลั่งตามธรรมชาติจากช่องคลอดของผู้หญิง โดยมักเริ่มมีเมื่อเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ (ประมาณอายุ 14–15 ปี) สารคัดหลั่งนี้มีหน้าที่ช่วยให้ช่องคลอดชุ่มชื้น ป้องกันการติดเชื้อ และมีบทบาทสำคัญในกระบวนการเจริญพันธุ์ ❇️ลักษณะของตกขาวปกติ:• สีขาวใสหรือขาวขุ่น• ไม่มีกลิ่นเหม็นหรือกลิ่นคาว• มีปริมาณมากขึ้นในช่วงวันไข่ตก• ไม่ทำให้รู้สึกระคายเคืองหรือคัน ‼️ตกขาวผิดปกติ: สัญญาณเตือนที่ต้องใส่ใจการเปลี่ยนแปลงของตกขาวอาจสะท้อนความผิดปกติของอวัยวะภายในสตรี หากพบสิ่งต่อไปนี้ควรรีบปรึกษาแพทย์: ❇️สาเหตุของตกขาวผิดปกติ ❓ใครบ้างเสี่ยงต่อการเกิดตกขาวผิดปกติ?• หญิงตั้งครรภ์ : ฮอร์โมนและภูมิคุ้มกันเปลี่ยนแปลง• ผู้ที่ใช้ยาคุมหรือยาปฏิชีวนะบ่อย• ผู้ที่สวนล้างช่องคลอดเป็นประจำ• ผู้ที่ใส่เสื้อผ้ารัดแน่น อับชื้น• ผู้มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน• ผู้มีโรคประจำตัว เช่น เบาหวาน ภูมิคุ้มกันบกพร่อง ❇️การป้องกันตกขาวผิดปกติ• หลีกเลี่ยงการสวนล้างช่องคลอด• เลือกเสื้อผ้าที่ระบายอากาศได้ดี ไม่รัดแน่นเกินไป• รักษาความสะอาดเฉพาะภายนอกด้วยสบู่อ่อนหรือน้ำสะอาด• ใช้ถุงยางอนามัยเพื่อป้องกันการติดเชื้อ• ตรวจภายในเป็นประจำตามคำแนะนำของแพทย์ ❇️การรักษาตกขาวผิดปกติหากพบว่ามีตกขาวผิดปกติ ควรพบแพทย์เพื่อรับการวินิจฉัยอย่างถูกต้อง การรักษาอาจประกอบด้วย:• ยารับประทาน• ยาสอด• ยาฉีด (ขึ้นอยู่กับสาเหตุ) การวินิจฉัยที่รวดเร็วและการรักษาที่เหมาะสมช่วยลดภาวะแทรกซ้อน และเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้หญิงในระยะยาว ✳️ตรวจภายใน: สิ่งที่ผู้หญิงไม่ควรมองข้ามการตรวจภายในปีละ 1 ครั้ง จะช่วยเฝ้าระวัง […]

รายการสุขภาพดีกับหมอสวนดอก ตอน “เช็คก่อนสาย! รู้ได้อย่างไร ว่าหัวใจเริ่มมีปัญหา”

📍ขอเชิญติดตามรับชม “รายการสุขภาพดีกับหมอสวนดอก”ตอน .. เช็คก่อนสาย! 🔍รู้ได้อย่างไร ว่าหัวใจเริ่มมีปัญหา 🫀🩺 👩🏻‍⚕️ โดย อ.พญ.ทรรศลักษณ์ ทองหงษ์อาจารย์ประจำหน่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มช. ติดตามรับชมได้ที่ ..Youtube Suandok Channel: https://www.youtube.com/live/k_jefxBKs38?si=fU4k3mXOXO2luNmoFacebook สุขภาพดีกับหมอสวนดอก: https://www.facebook.com/share/v/1AYkHdRj52/?mibextid=wwXIfr #เช็คก่อนสาย #รู้ได้อย่างไร#หัวใจเริ่มมีปัญหา#สุขภาพดีกับหมอสวนดอก#MedCMU #คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่#แพทย์เชียงใหม่ #แพทย์มช #หมอสวนดอก#โรงพยาบาลสวนดอก #Medcmuในมือคุณ #สื่อสารองค์กรMedcmu

แพทย์ทหารร่วมรณรงค์ “สร้างอนาคตปลอดภัย ไม่ป่วยด้วยไข้เลือดออก”

จากข้อมูลของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พบว่าในช่วงนี้ มีโอกาสพบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกเพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นโรคติดต่อที่นำโดยยุงลาย เนื่องจากมีฝนตกลงมาในหลายพื้นที่ของประเทศ ทำให้มีน้ำขังตามภาชนะต่างๆ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลาย ชอบวางไข่ในภาชนะต่างๆ ที่มีน้ำขัง โดยเฉพาะภาชนะใส่น้ำใช้, ภาชนะที่ไม่ใช้แล้ว, อ่างบัว, ยางรถยนต์ที่ไม่ใช้แล้ว ซึ่งภาชนะเหล่านี้ จะมีกระจัดกระจายอยู่ทั่วไปในชุมชน หรือในบ้าน เป็นปัจจัยสนับสนุนให้เกิดการระบาดของโรคได้ ในการนี้ พลโท กิตติพงษ์ แจ่มสุวรรณ แม่ทัพภาคที่ 3/ผู้บัญชาการศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กองทัพภาคที่ 3 และคณะแพทย์ทหาร มีความห่วงใยจากภัยดังกล่าว ต่อข้าราชการทหาร ในสังกัดกองทัพภาคที่ 3 รวมทั้งพี่น้องประชาชน ในพื้นที่ 17 จังหวัดภาคเหนือ จึงขอเชิญชวนประชาชนทุกท่าน ร่วมกันตรวจภาชนะที่มีน้ำขัง และเก็บกวาดภาชนะที่ไม่ใช้แล้ว กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายแบบง่าย ๆ ตามมาตรการ 3 เก็บ ดังนี้ 1) เก็บขยะ เศษภาชนะที่มีน้ำขัง ป้องกันไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 2) เก็บกวาด บ้านให้สะอาด ปลอดโปร่ง ป้องกันยุงลายเกาะพัก และ 3) […]

โรคไข้เลือดออก เป็นครั้งที่ 2 ต้องระวัง เป็นซ้ำ อาการรุนแรง

🦟 โรคไข้เลือดออก เป็นครั้งที่ 2 ต้องระวัง เป็นซ้ำ อาการรุนแรง วิทยากรโดย รศ.ดร.พญ.ทวิติยา สุจริตรักษ์ อาจารย์ประจำสาขาโรคติดเชื้อ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มช. 📍รับชมผ่านFacebook: https://cmu.to/w2tU3Youtube: https://cmu.to/Vk4aP #ไข้เลือดออก #วัคซีนไข้เลือดออก #MedCMU #คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ #แพทย์เชียงใหม่ #แพทย์มช #หมอสวนดอก #โรงพยาบาลสวนดอก #MedCMUในมือคุณ #สื่อสารองค์กรMedCMU

ปภ. แนะรับมือ – รู้รอดปลอดภัยจากคลื่นสึนามิ

กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) กระทรวงมหาดไทย ขอแนะข้อควรรู้และวิธีปฏิบัติตนเมื่อเกิดคลื่นสึนามิ โดยตรวจสอบสภาพความเสี่ยงภัยสึนามิในพื้นที่ เพื่อวางแผนอพยพได้อย่างปลอดภัย เรียนรู้ความหมายของป้ายสัญลักษณ์และเสียงสัญญาณเตือนภัย รวมถึงเข้าร่วมฝึกซ้อมแผนอพยพหนีภัยสึนามิ จัดเตรียมสิ่งของไว้ใช้ยามฉุกเฉิน ให้พร้อมนำไปใช้งานได้ทันที สังเกตความผิดปกติทางธรรมชาติ รวมถึงติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์ภัย หากมีประกาศแจ้งเตือนภัยคลื่นสึนามิให้อพยพไปยังพื้นที่ปลอดภัยทันที นายภาสกร บุญญลักษม์ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) เปิดเผยว่า คลื่นสึนามิเป็นภัยพิบัติที่เกิดจากการเคลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลกใต้มหาสมุทรอย่างฉับพลัน ทำให้น้ำทะเลก่อตัวเป็นคลื่นขนาดใหญ่ และซัดถล่มพื้นที่ชายฝั่งอย่างรุนแรง ก่อให้เกิดความเสียหายเป็นบริเวณกว้าง กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) ขอแนะข้อควรรู้และวิธีรับมือคลื่นสึนามิ ดังนี้ ตรวจสอบสภาพความเสี่ยงภัยสึนามิในพื้นที่ อาทิ ระยะห่างและความสูงจากระดับน้ำทะเลของบ้าน โรงเรียน สถานที่ทำงาน สถานที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผนอพยพได้อย่างปลอดภัย รู้รับมือคลื่นสึนามิอย่างถูกวิธี ศึกษาและจดจำเส้นทางอพยพที่ใกล้ที่สุด พร้อมเรียนรู้ความหมายของป้ายสัญลักษณ์และเสียงสัญญาณเตือนภัย รวมถึงเข้าร่วมฝึกซ้อมการแจ้งเตือนภัยและอพยพหนีภัยสึนามิ เพื่อให้มีทักษะรู้รอดปลอดภัยจากสึนามิ จัดเตรียมสิ่งของไว้ใช้ยามฉุกเฉิน และจัดเก็บไว้ในจุดที่สามารถนำไปใช้งานได้ทันที สังเกตความผิดปกติทางธรรมชาติ อาทิ แผ่นดินไหวใต้มหาสมุทร น้ำทะเลลดลงอย่างรวดเร็วมีฝูงสัตว์น้ำจำนวนมากใกล้ชายฝั่ง ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์ภัย หากมีประกาศแจ้งเตือนภัยคลื่นสึนามิให้อพยพไปยังพื้นที่ปลอดภัยทันที พร้อมปฏิบัติตามคำแนะนำของทางราชการอย่างเคร่งครัด

ปภ. แนะวิธีสังเกตสัญญานเตือนภัยจากคลื่นสึนามิ

กระทรวงมหาดไทย โดยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) กำหนดจัดการฝึกการบริหารวิกฤตการณ์ระดับชาติด้านสาธารณภัย ประจำปี พ.ศ. 2568 (C-MEX 25) จากภัยสึนามิ ในพื้นที่ 6 จังหวัด ชายฝั่งทะเลอันดามัน เพื่อเตรียมความพร้อมฝึกปฎิบัติตนรับมือสึนามิ จึงขอแนะความรู้วิธีการสังเกตสัญญานเตือนภัยจากคลื่นสึนามิ โดยสังเกตน้ำทะเลลดลงหรือเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วอย่างผิดปกติ หรือรับรู้ถึงแผ่นดินไหวสั่นสะเทือน สัตว์มีท่าทีผิดแปลกธรรมชาติ หากมีเสียงระบบเตือนจากหอแจ้งเตือนภัย ให้รีบออกจากชายฝั่งโดยทันทีและอพยพหนีขึ้นที่สูงสุดไปยังพื้นที่ปลอดภัย หากอยู่บนเรือควรพยายามลอยเรืออยู่กลางทะเล อย่านำเรือเทียบท่าจนกว่าจะได้รับแจ้งจากทางการว่าปลอดภัยแล้ว ห้ามกลับเข้าไปในพื้นที่ประสบภัยก่อนสถานการณ์กลับสู่ภาวะปกติ พร้อมปฏิบัติตามคำแนะนำของทางราชการอย่างเคร่งครัด จะช่วยเอาตัวรอดจากคลื่นสึนามิได้ นายภาสกร บุญญลักษม์ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) เปิดเผยว่า สึนามิภัยพิบัติรุนแรงที่เคยเกิดขึ้นและส่งผลกระทบต่อประเทศไทย โดยเฉพาะ 6 จังหวัด ชายฝั่งทะเลอันดามัน เพื่อความปลอดภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) มีความห่วงใยความปลอดภัยของประชาชนจากภัยพิบัติต่างๆ จึงขอแนะการเรียนรู้สัญญาณเตือนภัยเมื่อเกิดคลื่นสึนามิได้อย่างปลอดภัย ดังนี้ ประชาชนหรือนักท่องเที่ยวในพื้นที่เสี่ยงบริเวณริมชายฝั่งทะเล ให้สังเกตสัญญาณเตือนภัยจากธรรมชาติ หากสัมผัสรับรู้ถึงแรงสั่นสะเทือนหรือแผ่นดินไหว ให้สังเกตระดับน้ำทะเลลดต่ำหรือเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จนเห็นพื้นที่หาดทรายได้อย่างชัดเจน การได้เสียงดังผิดปกติจากใต้ทะเล เสียงของแผ่นดินแยกตัว หรือมองเห็นคลื่นม้วนตัวเป็นกำแพงขนาดใหญ่ รวมถึงสัตว์มีอาการแปลกๆ ผิดธรรมชาติ อาทิ สัตว์น้ำลึกจำนวนมากมาใกล้ชายฝั่งทะเล นกจำนวนมากบินแตกตื่น […]

ภาวะปัสสาวะรดที่นอนในเด็ก: แนวทางใหม่จากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ คณะแพทย์ มช.

💦👧🏻ภาวะปัสสาวะรดที่นอนในเด็ก: แนวทางใหม่จากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ คณะแพทย์ มช. “คืนไหนไม่รดที่นอนคือความภูมิใจ: ร่วมเข้าใจหัวใจเด็กที่กำลังเติบโต” ภาวะปัสสาวะรดที่นอน (Nocturnal Enuresis) เป็นปัญหาที่พบได้บ่อยในเด็ก โดยเฉพาะในช่วงวัยก่อนเข้าเรียน เด็กส่วนใหญ่จะหยุดปัสสาวะรดที่นอนได้เองเมื่ออายุประมาณ 5 ปี อย่างไรก็ตาม ยังมีเด็กประมาณ 15% ที่ยังคงมีอาการอยู่ ซึ่งมักจะค่อย ๆ ดีขึ้นเมื่อโตขึ้น ภาวะนี้สามารถเกิดได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ แต่สิ่งสำคัญที่สุดสำหรับผู้ปกครองคือ ต้องเข้าใจและไม่ตำหนิเด็ก เพราะนี่ไม่ใช่ความผิดของพวกเขา ❇️สาเหตุของการปัสสาวะรดที่นอนการปัสสาวะรดที่นอนอาจเกิดได้จากหลายปัจจัย และในบางรายอาจมีมากกว่าหนึ่งสาเหตุร่วมกัน เช่น1. ความผิดปกติของฮอร์โมนที่ควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะ2. ขนาดกระเพาะปัสสาวะเล็กกว่าปกติ3. ภาวะกระเพาะปัสสาวะบีบตัวบ่อย4. เด็กนอนหลับลึกเกินไปจนไม่รู้ตัวเมื่อต้องการปัสสาวะ5. ท้องผูกเรื้อรัง6. การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ7. พันธุกรรม หากคนในครอบครัวเคยมีภาวะนี้มาก่อน8. ความเครียดหรือความวิตกกังวล9. ภาวะทางระบบประสาท เช่น โรคลมชัก ❇️แนวทางการดูแลและการรักษาหากเด็กมีอายุเกิน 5 ปีแล้วยังมีอาการ ควรเริ่มจากการปรับพฤติกรรม โดยมีแนวทางดังนี้:• ให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะที่เป็นอย่างเหมาะสม• สร้างแรงจูงใจ เช่น การให้ดาวหรือรางวัลเล็ก ๆ เมื่อไม่มีอาการ• หลีกเลี่ยงการตำหนิหรือทำให้เด็กอับอาย• สนับสนุนให้เด็กมีส่วนร่วมในกระบวนการรักษา• ดื่มน้ำให้เพียงพอในช่วงกลางวัน (วันละ […]

รู้จักภาวะซาร์โคพีเนีย (Sarcopenia) “กล้ามเนื้อลด แรงหมด เดินไม่ไหว”

รู้จักภาวะซาร์โคพีเนีย (Sarcopenia) “กล้ามเนื้อลด แรงหมด เดินไม่ไหว” แพทย์ มช. เตือนภัยเงียบ ผู้สูงวัย เสี่ยงล้มง่าย-ติดเตียง แพทย์ มช. เตือน! กล้ามเนื้อผู้สูงวัยเสื่อมถอยได้ ไม่ใช่แค่ “สูงอายุแล้วอ่อนแรง” แต่เสี่ยงล้มง่าย พึ่งพิงคนอื่นเร็วขึ้น แนะตรวจคัดกรอง-กินโปรตีน-ออกแรงต้านตั้งแต่วัยกลางคน ภาวะซาร์โคพีเนีย (Sarcopenia)หรือเรียกง่าย ๆ ว่า ภาวะกล้ามเนื้อลดลงในผู้สูงอายุ เป็นปัญหาที่พบได้บ่อยและมักถูกเข้าใจผิดว่าเป็นเพียง “ความอ่อนแรงตามวัย” แต่แท้จริงแล้วภาวะนี้เกี่ยวข้องกับการสูญเสียมวลกล้ามเนื้อโครงร่างและความแข็งแรง ซึ่งหากไม่ได้รับการดูแล อาจนำไปสู่การหกล้ม และเสียชีวิตก่อนวัยอันควรได้ รศ.นพ.พีระศักดิ์ เลิศตระการนนท์หัวหน้าภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว คณะแพทยศาสตร์ มช.ให้ข้อมูลว่า ภาวะนี้เกิดจากการเปลี่ยนแปลงตามอายุ ประกอบกับปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆ เช่น การรับสารอาหารไม่เพียงพอ การเคลื่อนไหวร่างกายน้อย หรือมีโรคเรื้อรังร่วมด้วย ▪️รู้ทันสัญญาณเตือน ผู้สูงอายุที่เริ่มมีปัญหากล้ามเนื้อลดลงมักแสดงอาการ เช่น• รู้สึกอ่อนแรง• ยกของหนักลำบาก• เดินไกล 300–400 เมตรไม่ไหว• ขึ้นบันได 10 ขั้นเหนื่อยมาก• หกล้มบ่อย ▪️ผลกระทบที่ไม่ควรมองข้าม ภาวะนี้กระทบต่อคุณภาพชีวิตอย่างมาก […]

ทานอย่างไรให้ดีต่อสุขภาพหัวใจ

🍴ทานอย่างไรให้ดีต่อสุขภาพหัวใจ🫀 📍ติดตามรับชมได้ที่TikTok : https://cmu.to/3xtUAFacebook : https://cmu.to/3wG1L #สุขภาพ #โรคหัวใจ #หัวใจ #MedCMU #คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ #แพทย์เชียงใหม่ #แพทย์มช #หมอสวนดอก #โรงพยาบาลสวนดอก #MedCMUในมือคุณ #สื่อสารองค์กรMedCMU #เทรนด์วันนี้

MED CMU ฟัง for health EP. 207 “มะเร็งปอด” ไม่สูบบุหรี่ ก็เป็นได้!

วิทยากรโดย : อ.นพ.ปริญญา เรือนวิไล อาจารย์ประจำภาควิชาอายุรศาสตร์ หน่วยโรคระบบการหายใจ เวชบำบัดวิกฤตและภูมิแพ้ คณะแพทยศาสตร์ มช. รับฟังผ่านช่องทาง : https://cmu.to/jFreH #มะเร็งปอด #Lungcancer #MedCMU #คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ #แพทย์เชียงใหม่ #แพทย์มช #หมอสวนดอก #แพทย์สวนดอก #โรงพยาบาลสวนดอก #MedCMUในมือคุณ #สื่อสารองค์กรMedCMU

1 2 3 188