47618

รัฐบาลกระตุ้นคนไทย ตรวจ “HIV” ฟรี ล่าสุดป่วยสะสมแล้ว 547,556 คน

วันนี้ (3 กรกฎาคม 2568) นายอนุกูล พฤกษานุศักดิ์  รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า  กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เปิดเผยข้อมูลสถานการณ์ผู้ติดเชื้อเอชไอวีภาพรวมของประเทศ ปี 2568 ผู้ติดเชื้อเอชไอวีสะสม 547,556 คน และผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ จำนวน 13,357 คน สาเหตุหลักติดเชื้อจากการมีเพศสัมพันธ์แบบไม่ป้องกัน อีกทั้งหลายคนไม่ได้ตรวจหาเชื้อ และไม่ทราบสถานะการติดเชื้อเอชไอวีของตนเอง ทั้งไม่ทราบว่าตนเองมีความเสี่ยง ไม่กล้าไปตรวจที่โรงพยาบาลเพราะกังวลเรื่องการตีตราจากสังคม และไม่รู้ว่าสามารถตรวจเอชไอวีด้วยตนเองได้ ทำให้ไม่ได้เข้าสู่ระบบการรักษา และอาจถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีไปสู่คู่ได้โดยไม่รู้ตัว นายอนุกูล กล่าวต่อว่า การตรวจสุขภาพหาเชื้อเอชไอวีเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญในการดูแลสุขภาพทั้งต่อตนเองและผู้อื่น ยิ่งตรวจเร็ว รู้ทัน ตั้งแต่ระยะเริ่มแรก และเข้าสู่ระบบการรักษาเร็ว จะทำให้ไม่ป่วยด้วยโรคแทรกซ้อน ลดการเสียชีวิตจากเอดส์ได้ นอกจากนี้ การกินยาต้านไวรัสอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอจนกดปริมาณไวรัสในกระแสเลือดให้เหลือน้อยกว่า 200 copies/ml จะไม่ถ่ายทอดเชื้อไปยังผู้อื่นได้ หรือที่เรียกว่า Undetectable = Untransmittable (U=U)  ทั้งนี้ ประชาชนไทยทุกคน สามารถรับบริการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีได้ฟรีปีละ 2 ครั้ง ที่ โรงพยาบาลภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ หรือขอรับชุดตรวจเอชไอวีด้วยตนเอง(HIV […]

กินไม่หยุด หยุดไม่ได้ แล้วรู้สึกผิด…นี่อาจไม่ใช่แค่นิสัย แต่คือโรค BED

“กินไม่หยุด หยุดไม่ได้ แล้วรู้สึกผิด…นี่อาจไม่ใช่แค่นิสัย แต่คือโรค BED”เปิดมุมมองใหม่ของโรคกินเกินควบคุม กับคำแนะนำจากแพทย์ มช. โรค Binge Eating Disorder (BED) หรือโรคกินเกินควบคุม กำลังกลายเป็นปัญหาทางสุขภาพจิตที่พบมากขึ้นในคนทุกวัย โดยเฉพาะในกลุ่มวัยรุ่นและวัยทำงานตอนต้น แต่กลับยังไม่เป็นที่เข้าใจในสังคมเท่าที่ควร รศ.พญ.นลินี ยิ่งชาญกุล อาจารย์ประจำภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว คณะแพทยศาสตร์ มช.ระบุว่า BED เป็นภาวะทางจิตเวชที่ผู้ป่วยจะกินอาหารในปริมาณมากผิดปกติภายในระยะเวลาสั้น ๆ โดยไม่สามารถควบคุมได้ และมักรู้สึกผิดหรือทุกข์ใจหลังจากกิน ต่างจากการกินจุกจิกทั่วไป ซึ่งอาจเกิดขึ้นเป็นครั้งคราว “พฤติกรรมกินแบบ BED จะเกิดซ้ำ ๆ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ต่อเนื่องกันนานกว่า 3 เดือน โดยไม่มีพฤติกรรมชดเชย เช่น อาเจียนหรือใช้ยาถ่าย” รศ.พญ.นลินี ยิ่งชาญกุล กล่าว ปัจจัยเสี่ยงหลากหลาย: ทั้งสมอง สิ่งแวดล้อม และจิตใจBED ไม่ใช่ปัญหานิสัยหรือความอ่อนแอ แต่มีปัจจัยเบื้องหลังที่ซับซ้อน ทั้งความไม่สมดุลของสารเคมีในสมอง เช่น เซโรโทนิน ความเครียดสะสม การถูกล้อเลียนเรื่องรูปร่าง […]

สังเกตอย่างไร ตกขาวแบบไหนผิดปกติ หรือเป็นสัญญานเตือน

สังเกตอย่างไร🔍ตกขาวแบบไหนผิดปกติ หรือเป็นสัญญานเตือน 🩺 📍ขอเชิญติดตามรับชม “รายการสุขภาพดีกับหมอสวนดอก”วันพุธที่ 11 มิถุนายน 2568 เวลา 13.30 น. 👩🏻‍⚕️ โดย รศ.พญ.กุณฑรี ไตรศรีศิลป์ หมื่นพินิจอาจารย์ประจำภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยาคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ติดตามรับชมได้ที่ ..Youtube Suandok Channel: https://cmu.to/jzMwnFacebook สุขภาพดีกับหมอสวนดอก: https://cmu.to/39tji #ตกขาวแบบไหน#ผิดปกติ #สัญญานเตือน#สุขภาพดีกับหมอสวนดอก#MedCMU #คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่#แพทย์เชียงใหม่ #แพทย์มช #หมอสวนดอก#โรงพยาบาลสวนดอก #Medcmuในมือคุณ #สื่อสารองค์กรMedcmu

เช็คอาการ! ไอเสียงหมาเห่า เสี่ยงป่วย “โรคครูป”

🤧เช็คอาการ! ไอเสียงหมาเห่า เสี่ยงป่วย “โรคครูป” 🧑🏻‍⚕️วิทยากรโดย รศ.พญ.กนกกาญจน์ สันกลกิ อาจารย์ประจำภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มช. 📍รับชมผ่านTiktok: https://cmu.to/jUJmeFacebook: https://cmu.to/3NMrc #โรคครูป #ไอ #MedCMU #คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ #แพทย์เชียงใหม่ #แพทย์มช #หมอสวนดอก #โรงพยาบาลสวนดอก #MedCMUในมือคุณ #สื่อสารองค์กรMedCMU

โควิด-19 ยังมีความเสี่ยงสูง! พบผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น แพทย์ มช. เตือนห้ามประมาท!

โควิด-19 ยังมีความเสี่ยงสูง! พบผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น แพทย์ มช. เตือนผู้สูงวัย-กลุ่มเสี่ยง เจ็บคอ น้ำมูกไหล…ห้ามประมาท!” แนะ! หน้ากากยังจำเป็นในพื้นที่เสี่ยง อย่าปล่อยการ์ดตก ผศ.นพ.ปรเมษฐ์ วินิจจะกูล อาจารย์ประจำหน่วยโรคติดเชื้อและเวชศาสตร์เขตร้อน ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เปิดเผยว่า นับตั้งแต่ช่วงสงกรานต์ที่ผ่านมา จำนวนผู้ป่วยโรคติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ อาทิ ไข้หวัดใหญ่และโควิด-19 มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคโควิด-19 แม้ยังไม่พบการระบาดเป็นกลุ่มก้อน (Cluster) แต่จำนวนผู้ป่วยที่เข้ารับการตรวจและพักรักษาตัวในโรงพยาบาลก็เพิ่มขึ้นชัดเจนเมื่อเทียบกับช่วงก่อนหน้านี้ ปัจจัยที่ทำให้ยอดผู้ป่วยเพิ่มขึ้น อาจมีความเกี่ยวข้องกับสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง ฝนที่มาเร็วกว่าปกติ และกิจกรรมรวมกลุ่มขนาดใหญ่ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ที่ผ่านมา อีกทั้งเชื้อไวรัสโควิด-19 มีการปรับตัวให้แพร่เชื้อได้ง่ายขึ้น และส่วนใหญ่ผู้ติดเชื้อจะมีอาการเพียงเล็กน้อยหรือแทบไม่มีอาการ ส่งผลให้โรคแพร่กระจายได้โดยไม่รู้ตัว อย่างไรก็ตาม ขณะนี้ยังไม่มีหลักฐานบ่งชี้ว่าเป็นการระบาดของเชื้อสายพันธุ์ใหม่ที่มีความรุนแรงเพิ่มขึ้น เชื้อไวรัสที่พบยังอยู่ในกลุ่มโอมิครอน ซึ่งแม้จะกลายพันธุ์ต่อเนื่อง แต่ยังไม่พบการพัฒนาสายพันธุ์ที่ส่งผลให้โรครุนแรงมากขึ้นหรือแพร่ระบาดใหญ่แบบที่ผ่านมา ผศ.นพ.ปรเมษฐ์ ระบุว่า “กลุ่มผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนรุนแรงยังคงเป็นกลุ่ม 608 ได้แก่ ผู้สูงอายุ ผู้ที่มีโรคประจำตัว และผู้มีภูมิคุ้มกันต่ำ ซึ่งควรรีบเข้ารับการตรวจและดูแลรักษาอย่างเหมาะสม ส่วนผู้ที่มีสุขภาพแข็งแรง ไม่มีโรคประจำตัว และมีอาการไม่มาก สามารถรักษาตามอาการได้โดยไม่จำเป็นต้องใช้ยาต้านไวรัส โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ยังคงมีความพร้อมในการตรวจและรักษาผู้ป่วย […]

ดึงข้อไม่ขึ้น ทำยังไง แนะนำการเริ่มต้นอย่างถูกวิธี พร้อมเทคนิคฝึกดึงข้อให้ได้ผลจริง

ดึงข้อไม่ขึ้น ทำยังไง แนะนำการเริ่มต้นอย่างถูกวิธี พร้อมเทคนิคฝึกดึงข้อให้ได้ผลจริง ดึงข้อ หรือ Pull-up คือหนึ่งในท่าออกกำลังกายที่ท้าทายที่สุด โดยเฉพาะสำหรับผู้เริ่มต้น เพราะต้องใช้แรงกล้ามเนื้อหลายส่วนพร้อมกัน ทั้งหลัง ไหล่ แขน และแกนกลางลำตัว ซึ่งหลายคนมักเจอปัญหา “ดึงข้อไม่ขึ้น” แม้พยายามเต็มที่แล้วก็ตาม หากคุณเป็นคนหนึ่งที่กำลังเริ่มต้นฝึกดึงข้อ แต่มักล้มเหลวในความพยายาม บทความนี้จะช่วยให้คุณเข้าใจต้นเหตุ พร้อมแนะแนวทางฝึกดึงข้ออย่างถูกวิธี เพื่อให้คุณดึงข้อได้อย่างมั่นใจ แข็งแรง และปลอดภัย ทำไมมือใหม่ถึงดึงข้อไม่ขึ้น?ก่อนจะฝึกให้ดึงข้อได้ ควรรู้ก่อนว่าเพราะอะไรเราถึง ดึงข้อไม่ขึ้น ซึ่งสาเหตุหลัก ๆ มีดังนี้ วิธีฝึกดึงข้อสำหรับมือใหม่ให้ได้ผลจริง 1. เริ่มจากวอร์มอัพทุกครั้ง การอบอุ่นร่างกายก่อนดึงข้อเป็นสิ่งจำเป็น เพราะช่วยให้กล้ามเนื้อยืดหยุ่น ลดโอกาสบาดเจ็บ ควรเน้นขยับแขน ไหล่ หลัง และทำ dynamic stretch สัก 5–10 นาที 2. ฝึกดึงข้อด้วยท่าต่อไปนี้ ท่าพื้นฐานสำหรับสร้างกล้ามเนื้อหลังและไหล่ ทำ 5-10 ครั้ง 3-4 set ช่วยโฟกัสกล้ามเนื้อไบเซ็ปส์และหลังส่วนล่าง ทำ […]

วัคซีนสำหรับเด็ก ในช่วงขวบปีแรกหลังคลอด สำคัญอย่างไร

💉วัคซีนสำหรับเด็กในช่วงขวบปีแรก หลังคลอดสำคัญอย่างไร ❓. #วัคซีนขวบปีแรกสำคัญต่อลูกน้อยอย่างไร? ในขวบปีแรกเป็นช่วงอายุ ที่เด็กมีภูมิต้านทานยังไม่สมบูรณ์ อีกทั้งยังไม่มีภูมิคุ้มกันเป็นของตัวเอง หากมีการติดเชื้อในช่วงขวบปีแรกจะทำให้มีอาการและ ภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงได้ การรับวัคซีนจึงมีจุดประสงค์เพื่อป้องกันโรคติดต่อร้ายแรง โดยเฉพาะกับเด็ก ไม่เพียงขัดขวางการแพร่ระบาดและลดผลกระทบที่ร้ายแรงของโรคติดต่อได้ #วัคซีนเสริมจำเป็นต่อลูกน้อยหรือไม่? วัคซีนทุกตัวมีความสำคัญแม้จะเป็นวัคซีนเสริม เนื่องจากวัคซีนเสริมเกิดขึ้นมาจากการที่มีโรคระบาดหรือการติดเชื้อ ในภูมิภาค ในประเทศนั้นๆ เช่น วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Update ตามฤดูกาล วัคซีนเชื้อนิวโมคอกคัส หรือไอพีดี เป็นต้น ซึ่งการได้รับวัคซีนจะช่วยป้องกันการติดเชื้อ หรือลดภาวะแทรกซ้อน ลดความรุนแรงของโรคที่จะเกิดขึ้นได้ #ถ้าเด็กขาดการรับวัคซีน ได้วัคซีนไม่ครบตามจำนวน สามารถมาฉีดต่อได้เลยหรือไม่ หรือต้องทำการเริ่มต้นใหม่? หากลูกน้อยได้รับวัคซีนช้ากว่ากำหนด สามารถฉีดวัคซีนต่อได้เลย ไม่จำเป็นต้องเริ่มต้นใหม่ แต่ผลเสียของการรับวัคซีนช้ากว่ากำหนด คือ เด็กจะมีความเสี่ยงที่จะติดเชื้อระหว่างที่ร่างกายยังไม่มีภูมิคุ้มกัน #แล้วต้องเตรียมตัวอย่างไรบ้าง หากต้องการมารับฉีดวัคซีนที่โรงพยาบาลเชียงใหม่ราม? คุณพ่อคุณแม่สามารถติดต่อนัดหมายเพื่อรับวัคซีนต่อเนื่อง ได้โดยไม่ต้องเริ่มใหม่ ปัจจุบันทางโรงพยาบาลเชียงใหม่ รามได้จัดทำ” แพ็กเกจวัคซีนพื้นฐานและวัคซีนเสริม สำหรับลูกน้อย ”ในการฉีดวัคซีนแต่ละช่วงอายุไว้ตั้งแต่แรกเกิด ถึง 2 ปี โดยนำสมุดประจำตัวหรือสมุดวัคซีนมาด้วยทุกครั้ง เพื่อเป็นการตรวจเช็คการรับวัคซีนของน้องที่ผ่านมา และรับต่อเนื่องได้ถูกต้อง #คำแนะนำและวิธีสังเกตอาการที่อาจเกิดขึ้นหลังรับวัคซีน #วัคซีนเด็ก #เด็กสุขภาพดี […]

รัฐบาลกระตุ้นคนไทย ตรวจ “HIV” ฟรี ล่าสุดป่วยสะสมแล้ว 547,556 คน

วันนี้ (3 กรกฎาคม 2568) นายอนุกูล พฤกษานุศักดิ์  รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า  กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เปิดเผยข้อมูลสถานการณ์ผู้ติดเชื้อเอชไอวีภาพรวมของประเทศ ปี 2568 ผู้ติดเชื้อเอชไอวีสะสม 547,556 คน และผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ จำนวน 13,357 คน สาเหตุหลักติดเชื้อจากการมีเพศสัมพันธ์แบบไม่ป้องกัน อีกทั้งหลายคนไม่ได้ตรวจหาเชื้อ และไม่ทราบสถานะการติดเชื้อเอชไอวีของตนเอง ทั้งไม่ทราบว่าตนเองมีความเสี่ยง ไม่กล้าไปตรวจที่โรงพยาบาลเพราะกังวลเรื่องการตีตราจากสังคม และไม่รู้ว่าสามารถตรวจเอชไอวีด้วยตนเองได้ ทำให้ไม่ได้เข้าสู่ระบบการรักษา และอาจถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีไปสู่คู่ได้โดยไม่รู้ตัว นายอนุกูล กล่าวต่อว่า การตรวจสุขภาพหาเชื้อเอชไอวีเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญในการดูแลสุขภาพทั้งต่อตนเองและผู้อื่น ยิ่งตรวจเร็ว รู้ทัน ตั้งแต่ระยะเริ่มแรก และเข้าสู่ระบบการรักษาเร็ว จะทำให้ไม่ป่วยด้วยโรคแทรกซ้อน ลดการเสียชีวิตจากเอดส์ได้ นอกจากนี้ การกินยาต้านไวรัสอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอจนกดปริมาณไวรัสในกระแสเลือดให้เหลือน้อยกว่า 200 copies/ml จะไม่ถ่ายทอดเชื้อไปยังผู้อื่นได้ หรือที่เรียกว่า Undetectable = Untransmittable (U=U)  ทั้งนี้ ประชาชนไทยทุกคน สามารถรับบริการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีได้ฟรีปีละ 2 ครั้ง ที่ โรงพยาบาลภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ หรือขอรับชุดตรวจเอชไอวีด้วยตนเอง(HIV […]

กินไม่หยุด หยุดไม่ได้ แล้วรู้สึกผิด…นี่อาจไม่ใช่แค่นิสัย แต่คือโรค BED

“กินไม่หยุด หยุดไม่ได้ แล้วรู้สึกผิด…นี่อาจไม่ใช่แค่นิสัย แต่คือโรค BED”เปิดมุมมองใหม่ของโรคกินเกินควบคุม กับคำแนะนำจากแพทย์ มช. โรค Binge Eating Disorder (BED) หรือโรคกินเกินควบคุม กำลังกลายเป็นปัญหาทางสุขภาพจิตที่พบมากขึ้นในคนทุกวัย โดยเฉพาะในกลุ่มวัยรุ่นและวัยทำงานตอนต้น แต่กลับยังไม่เป็นที่เข้าใจในสังคมเท่าที่ควร รศ.พญ.นลินี ยิ่งชาญกุล อาจารย์ประจำภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว คณะแพทยศาสตร์ มช.ระบุว่า BED เป็นภาวะทางจิตเวชที่ผู้ป่วยจะกินอาหารในปริมาณมากผิดปกติภายในระยะเวลาสั้น ๆ โดยไม่สามารถควบคุมได้ และมักรู้สึกผิดหรือทุกข์ใจหลังจากกิน ต่างจากการกินจุกจิกทั่วไป ซึ่งอาจเกิดขึ้นเป็นครั้งคราว “พฤติกรรมกินแบบ BED จะเกิดซ้ำ ๆ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ต่อเนื่องกันนานกว่า 3 เดือน โดยไม่มีพฤติกรรมชดเชย เช่น อาเจียนหรือใช้ยาถ่าย” รศ.พญ.นลินี ยิ่งชาญกุล กล่าว ปัจจัยเสี่ยงหลากหลาย: ทั้งสมอง สิ่งแวดล้อม และจิตใจBED ไม่ใช่ปัญหานิสัยหรือความอ่อนแอ แต่มีปัจจัยเบื้องหลังที่ซับซ้อน ทั้งความไม่สมดุลของสารเคมีในสมอง เช่น เซโรโทนิน ความเครียดสะสม การถูกล้อเลียนเรื่องรูปร่าง […]

สังเกตอย่างไร ตกขาวแบบไหนผิดปกติ หรือเป็นสัญญานเตือน

สังเกตอย่างไร🔍ตกขาวแบบไหนผิดปกติ หรือเป็นสัญญานเตือน 🩺 📍ขอเชิญติดตามรับชม “รายการสุขภาพดีกับหมอสวนดอก”วันพุธที่ 11 มิถุนายน 2568 เวลา 13.30 น. 👩🏻‍⚕️ โดย รศ.พญ.กุณฑรี ไตรศรีศิลป์ หมื่นพินิจอาจารย์ประจำภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยาคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ติดตามรับชมได้ที่ ..Youtube Suandok Channel: https://cmu.to/jzMwnFacebook สุขภาพดีกับหมอสวนดอก: https://cmu.to/39tji #ตกขาวแบบไหน#ผิดปกติ #สัญญานเตือน#สุขภาพดีกับหมอสวนดอก#MedCMU #คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่#แพทย์เชียงใหม่ #แพทย์มช #หมอสวนดอก#โรงพยาบาลสวนดอก #Medcmuในมือคุณ #สื่อสารองค์กรMedcmu

เช็คอาการ! ไอเสียงหมาเห่า เสี่ยงป่วย “โรคครูป”

🤧เช็คอาการ! ไอเสียงหมาเห่า เสี่ยงป่วย “โรคครูป” 🧑🏻‍⚕️วิทยากรโดย รศ.พญ.กนกกาญจน์ สันกลกิ อาจารย์ประจำภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มช. 📍รับชมผ่านTiktok: https://cmu.to/jUJmeFacebook: https://cmu.to/3NMrc #โรคครูป #ไอ #MedCMU #คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ #แพทย์เชียงใหม่ #แพทย์มช #หมอสวนดอก #โรงพยาบาลสวนดอก #MedCMUในมือคุณ #สื่อสารองค์กรMedCMU

โควิด-19 ยังมีความเสี่ยงสูง! พบผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น แพทย์ มช. เตือนห้ามประมาท!

โควิด-19 ยังมีความเสี่ยงสูง! พบผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น แพทย์ มช. เตือนผู้สูงวัย-กลุ่มเสี่ยง เจ็บคอ น้ำมูกไหล…ห้ามประมาท!” แนะ! หน้ากากยังจำเป็นในพื้นที่เสี่ยง อย่าปล่อยการ์ดตก ผศ.นพ.ปรเมษฐ์ วินิจจะกูล อาจารย์ประจำหน่วยโรคติดเชื้อและเวชศาสตร์เขตร้อน ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เปิดเผยว่า นับตั้งแต่ช่วงสงกรานต์ที่ผ่านมา จำนวนผู้ป่วยโรคติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ อาทิ ไข้หวัดใหญ่และโควิด-19 มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคโควิด-19 แม้ยังไม่พบการระบาดเป็นกลุ่มก้อน (Cluster) แต่จำนวนผู้ป่วยที่เข้ารับการตรวจและพักรักษาตัวในโรงพยาบาลก็เพิ่มขึ้นชัดเจนเมื่อเทียบกับช่วงก่อนหน้านี้ ปัจจัยที่ทำให้ยอดผู้ป่วยเพิ่มขึ้น อาจมีความเกี่ยวข้องกับสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง ฝนที่มาเร็วกว่าปกติ และกิจกรรมรวมกลุ่มขนาดใหญ่ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ที่ผ่านมา อีกทั้งเชื้อไวรัสโควิด-19 มีการปรับตัวให้แพร่เชื้อได้ง่ายขึ้น และส่วนใหญ่ผู้ติดเชื้อจะมีอาการเพียงเล็กน้อยหรือแทบไม่มีอาการ ส่งผลให้โรคแพร่กระจายได้โดยไม่รู้ตัว อย่างไรก็ตาม ขณะนี้ยังไม่มีหลักฐานบ่งชี้ว่าเป็นการระบาดของเชื้อสายพันธุ์ใหม่ที่มีความรุนแรงเพิ่มขึ้น เชื้อไวรัสที่พบยังอยู่ในกลุ่มโอมิครอน ซึ่งแม้จะกลายพันธุ์ต่อเนื่อง แต่ยังไม่พบการพัฒนาสายพันธุ์ที่ส่งผลให้โรครุนแรงมากขึ้นหรือแพร่ระบาดใหญ่แบบที่ผ่านมา ผศ.นพ.ปรเมษฐ์ ระบุว่า “กลุ่มผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนรุนแรงยังคงเป็นกลุ่ม 608 ได้แก่ ผู้สูงอายุ ผู้ที่มีโรคประจำตัว และผู้มีภูมิคุ้มกันต่ำ ซึ่งควรรีบเข้ารับการตรวจและดูแลรักษาอย่างเหมาะสม ส่วนผู้ที่มีสุขภาพแข็งแรง ไม่มีโรคประจำตัว และมีอาการไม่มาก สามารถรักษาตามอาการได้โดยไม่จำเป็นต้องใช้ยาต้านไวรัส โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ยังคงมีความพร้อมในการตรวจและรักษาผู้ป่วย […]

ดึงข้อไม่ขึ้น ทำยังไง แนะนำการเริ่มต้นอย่างถูกวิธี พร้อมเทคนิคฝึกดึงข้อให้ได้ผลจริง

ดึงข้อไม่ขึ้น ทำยังไง แนะนำการเริ่มต้นอย่างถูกวิธี พร้อมเทคนิคฝึกดึงข้อให้ได้ผลจริง ดึงข้อ หรือ Pull-up คือหนึ่งในท่าออกกำลังกายที่ท้าทายที่สุด โดยเฉพาะสำหรับผู้เริ่มต้น เพราะต้องใช้แรงกล้ามเนื้อหลายส่วนพร้อมกัน ทั้งหลัง ไหล่ แขน และแกนกลางลำตัว ซึ่งหลายคนมักเจอปัญหา “ดึงข้อไม่ขึ้น” แม้พยายามเต็มที่แล้วก็ตาม หากคุณเป็นคนหนึ่งที่กำลังเริ่มต้นฝึกดึงข้อ แต่มักล้มเหลวในความพยายาม บทความนี้จะช่วยให้คุณเข้าใจต้นเหตุ พร้อมแนะแนวทางฝึกดึงข้ออย่างถูกวิธี เพื่อให้คุณดึงข้อได้อย่างมั่นใจ แข็งแรง และปลอดภัย ทำไมมือใหม่ถึงดึงข้อไม่ขึ้น?ก่อนจะฝึกให้ดึงข้อได้ ควรรู้ก่อนว่าเพราะอะไรเราถึง ดึงข้อไม่ขึ้น ซึ่งสาเหตุหลัก ๆ มีดังนี้ วิธีฝึกดึงข้อสำหรับมือใหม่ให้ได้ผลจริง 1. เริ่มจากวอร์มอัพทุกครั้ง การอบอุ่นร่างกายก่อนดึงข้อเป็นสิ่งจำเป็น เพราะช่วยให้กล้ามเนื้อยืดหยุ่น ลดโอกาสบาดเจ็บ ควรเน้นขยับแขน ไหล่ หลัง และทำ dynamic stretch สัก 5–10 นาที 2. ฝึกดึงข้อด้วยท่าต่อไปนี้ ท่าพื้นฐานสำหรับสร้างกล้ามเนื้อหลังและไหล่ ทำ 5-10 ครั้ง 3-4 set ช่วยโฟกัสกล้ามเนื้อไบเซ็ปส์และหลังส่วนล่าง ทำ […]

วัคซีนสำหรับเด็ก ในช่วงขวบปีแรกหลังคลอด สำคัญอย่างไร

💉วัคซีนสำหรับเด็กในช่วงขวบปีแรก หลังคลอดสำคัญอย่างไร ❓. #วัคซีนขวบปีแรกสำคัญต่อลูกน้อยอย่างไร? ในขวบปีแรกเป็นช่วงอายุ ที่เด็กมีภูมิต้านทานยังไม่สมบูรณ์ อีกทั้งยังไม่มีภูมิคุ้มกันเป็นของตัวเอง หากมีการติดเชื้อในช่วงขวบปีแรกจะทำให้มีอาการและ ภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงได้ การรับวัคซีนจึงมีจุดประสงค์เพื่อป้องกันโรคติดต่อร้ายแรง โดยเฉพาะกับเด็ก ไม่เพียงขัดขวางการแพร่ระบาดและลดผลกระทบที่ร้ายแรงของโรคติดต่อได้ #วัคซีนเสริมจำเป็นต่อลูกน้อยหรือไม่? วัคซีนทุกตัวมีความสำคัญแม้จะเป็นวัคซีนเสริม เนื่องจากวัคซีนเสริมเกิดขึ้นมาจากการที่มีโรคระบาดหรือการติดเชื้อ ในภูมิภาค ในประเทศนั้นๆ เช่น วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Update ตามฤดูกาล วัคซีนเชื้อนิวโมคอกคัส หรือไอพีดี เป็นต้น ซึ่งการได้รับวัคซีนจะช่วยป้องกันการติดเชื้อ หรือลดภาวะแทรกซ้อน ลดความรุนแรงของโรคที่จะเกิดขึ้นได้ #ถ้าเด็กขาดการรับวัคซีน ได้วัคซีนไม่ครบตามจำนวน สามารถมาฉีดต่อได้เลยหรือไม่ หรือต้องทำการเริ่มต้นใหม่? หากลูกน้อยได้รับวัคซีนช้ากว่ากำหนด สามารถฉีดวัคซีนต่อได้เลย ไม่จำเป็นต้องเริ่มต้นใหม่ แต่ผลเสียของการรับวัคซีนช้ากว่ากำหนด คือ เด็กจะมีความเสี่ยงที่จะติดเชื้อระหว่างที่ร่างกายยังไม่มีภูมิคุ้มกัน #แล้วต้องเตรียมตัวอย่างไรบ้าง หากต้องการมารับฉีดวัคซีนที่โรงพยาบาลเชียงใหม่ราม? คุณพ่อคุณแม่สามารถติดต่อนัดหมายเพื่อรับวัคซีนต่อเนื่อง ได้โดยไม่ต้องเริ่มใหม่ ปัจจุบันทางโรงพยาบาลเชียงใหม่ รามได้จัดทำ” แพ็กเกจวัคซีนพื้นฐานและวัคซีนเสริม สำหรับลูกน้อย ”ในการฉีดวัคซีนแต่ละช่วงอายุไว้ตั้งแต่แรกเกิด ถึง 2 ปี โดยนำสมุดประจำตัวหรือสมุดวัคซีนมาด้วยทุกครั้ง เพื่อเป็นการตรวจเช็คการรับวัคซีนของน้องที่ผ่านมา และรับต่อเนื่องได้ถูกต้อง #คำแนะนำและวิธีสังเกตอาการที่อาจเกิดขึ้นหลังรับวัคซีน #วัคซีนเด็ก #เด็กสุขภาพดี […]

เปิดตัว ภูมิคุ้มกัน RSV ที่แรกในเชียงใหม่ ที่ โรงพยาบาลเชียงใหม่ ราม

🌟 ภูมิคุ้มกันสำเร็จรูป RSV 🌟ไม่พลาดคำตอบจาก Live “เปิดตัว ภูมิคุ้มกัน RSV ที่แรกในเชียงใหม่“ โดย 👨🏻‍⚕️ นพ.กฤษณะ คงถาวรสกุล กุมารแพทย์โรคติดเชื้อ และ 👨🏼‍⚕️ นพ.สมรัก รังคกูลนุวัฒน์ กุมารแพทย์โรคระบบหายใจ ได้รวบรวมคำถามยอดฮิตมาให้คุณพ่อคุณแม่แล้ว❗️📍 คำถามที่ทุกคนอยากรู้ 🤔1️⃣ เด็กอายุเท่าไหร่ที่เหมาะสมกับภูมิคุ้มกันสำเร็จรูป RSV 👶2️⃣ ภูมิคุ้มกันสำเร็จรูปป้องกันได้นานแค่ไหน ⏳3️⃣ ฉีดแล้วมีผลข้างเคียงอะไรไหม 🤒4️⃣ ถ้าเคยติดเชื้อ RSV แล้ว ยังต้องฉีดอีกหรือไม่ 🤧เสริมภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อยได้แล้ว 👉 https://shorturl.at/vE94H📍สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่🏥 แผนกผู้ป่วยนอกเด็กโทร 052-004699 #ภูมิคุ้มกันสำเร็จรูปRSV #RSV #โรงพยาบาลเชียงใหม่ราม #ChiangmaiRamHospital#TheCompleteExpertforYourDesiredHealth#ตอบทุกความต้องการเชี่ยวชาญทุกการดูแล ติดตามข้อมูลสุขภาพเพิ่มเติม:🌐 Website: www.chiangmairam.com💬 Line@: https://line.me/R/ti/p/%40jmu4687m📺 Youtube: โรงพยาบาลเชียงใหม่ ราม🎥Tiktok : https://www.tiktok.com/@chiangmairam_hospital

แพทย์ทหาร แนะผู้ปกครองหมั่นดูแลสุขอนามัยบุตรหลาน ป้องกันโรคไข้อีดำอีแดง

จากข้อมูลของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรคไข้อีดำอีแดง พบได้บ่อยในเด็กช่วงอายุ 5 – 15 ปี เชื้อนี้สามารถติดต่อได้ง่าย ผ่านทางการไอ จาม สัมผัสสารคัดหลั่ง หรือใช้ของร่วมกัน เช่น แก้วน้ำ ช้อน หรือผ้าเช็ดหน้า กลุ่มที่ต้องระวังเป็นพิเศษ ได้แก่ เด็กในวัยเรียน ผู้ที่อยู่ในสถานที่แออัด อาการของโรคไข้อีดำอีแดง คือ ไข้สูง เจ็บคอ ต่อมทอนซิลบวมแดง มีจุดหนอง หรือฝ้าขาวบริเวณทอนซิล และมีผื่นแดงคล้ายกระดาษทราย ขึ้นตามลำตัวแล้วกระจายไปแขนขา ผิวแดงคล้ายถูกแดดเผา แต่บริเวณรอบปากจะซีด และมีลิ้นแดงคล้ายผลสตรอเบอร์รี่ บางรายอาจมีอาการปวดหัว คลื่นไส้ อาเจียน หรือปวดท้องร่วมด้วย การรักษาจำเป็นต้องได้รับยาปฏิชีวนะที่เหมาะสม เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น เช่น ไตอักเสบ หรือไข้รูห์มาติก โดยผู้ป่วยส่วนใหญ่จะหายเป็นปกติภายใน 7 – 10 วัน หลังได้รับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ เน้นย้ำต้องรับประทานยาปฏิชีวนะให้ครบตามกำหนด แม้ว่าอาการจะดีขึ้น หากรับประทานยาไม่ครบกำหนดอาจทำให้เชื้อยังหลงเหลืออยู่ และเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่ร้ายแรง เช่น โรคหัวใจรูห์มาติก หรือไตอักเสบ […]

เตือนระวัง! “โรคหลอดเลือดสมอง” คร่าชีวิตคนไทยสูงกว่า 39,086 คน เป็นอันดับ 2 รองจากมะเร็ง

เตือนประชาชนระวัง “โรคหลอดเลือดสมอง” คร่าชีวิตคนไทยสูงกว่า 39,086 คน เป็นอันดับ 2 รองจากมะเร็ง แนะมุ่งสร้างศักยภาพชุมชนเป็นศูนย์กลางการดูแลสุขภาพ ด้วยแนวทาง “ป้องกันดีกว่ารักษา” วันนี้ (20 มีนาคม 2568) นายคารม พลพรกลาง รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า กระทรวงสาธารณสุข รายงานข้อมูลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ปี 2567 ของระบบรายงานฐานข้อมูลสุขภาพ (HDC) พบว่า โรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรของคนไทยสูงเป็นอันดับ 2 รองจากมะเร็ง พบผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองสะสม 358,062 คน และเสียชีวิต 39,086 คน ซึ่งภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีผู้ป่วยและเสียชีวิตสูงสุด โดยเฉพาะจังหวัดขอนแก่น ในปี 2563 – 2565 พบผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองรายใหม่กว่า 2,000 คนต่อปี นายคารม กล่าวว่า รัฐบาล โดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้มุ่งสร้างศักยภาพชุมชนเป็นศูนย์กลางการดูแลสุขภาพ ด้วยแนวทาง “ป้องกันดีกว่ารักษา” เพื่อลดภาระด้านสาธารณสุข และยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในระยะยาว จากความร่วมมือขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคีเครือข่าย […]

เช็กให้ชัวร์ อาการใจสั่นเป็นหนักขนาดไหนถึงต้องไปหาหมอ

อาการใจสั่นเป็นสิ่งที่หลายคนเคยประสบพบเจอในชีวิตประจำวัน บางครั้งอาจเกิดจากความเครียดหรือความวิตกกังวล แต่บางครั้งก็อาจเป็นสัญญาณของปัญหาสุขภาพที่รุนแรง เช่น โรคหัวใจหรือปัญหาสุขภาพอื่นๆ ดังนั้น การรู้ว่าเมื่อไรที่อาการใจสั่นควรได้รับการตรวจจากแพทย์จึงเป็นเรื่องที่สำคัญ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพในระยะยาว ในบทความนี้เราจะพูดถึง อาการใจสั่น และเมื่อใดที่ควรไปหาหมอ อาการใจสั่นคืออะไร? ใจสั่นเป็นอาการที่หลายคนเคยสัมผัส โดยทั่วไปแล้วเป็นการเต้นของหัวใจที่ไม่สม่ำเสมอ อาจจะเร็วหรือช้ากว่าปกติ ซึ่งอาจรู้สึกได้ที่หน้าอกหรือบริเวณคอ หากเกิดขึ้นเพียงครั้งคราวและไม่มีอาการอื่นๆ ที่ตามมา ก็ไม่จำเป็นต้องกังวลมากนัก เพราะอาจเกิดจากความเครียดหรือการออกกำลังกาย แต่ถ้าอาการนี้เกิดขึ้นบ่อยครั้งหรือรุนแรงขึ้น ควรพิจารณาไปพบแพทย์เพื่อตรวจสอบว่าเกิดจากสาเหตุใด สาเหตุที่ทำให้เกิดอาการใจสั่น อาการใจสั่นสามารถเกิดจากหลายสาเหตุ โดยบางครั้งก็ไม่เป็นอันตราย แต่มักจะมีปัจจัยที่ทำให้เกิดอาการดังกล่าว ซึ่งรวมถึง เมื่อใดที่อาการใจสั่นต้องไปหาหมอ? แม้ว่าอาการใจสั่นจะไม่เป็นอันตรายในหลายกรณี แต่ก็มีบางสถานการณ์ที่อาจเป็นสัญญาณของปัญหาสุขภาพที่รุนแรง ดังนั้นหากคุณพบอาการเหล่านี้ ควรไปหาหมอโดยทันที การวินิจฉัยและการรักษา หากคุณไปพบแพทย์เพื่ออาการใจสั่น แพทย์จะทำการสอบถามประวัติทางการแพทย์และอาการต่างๆ ของคุณ ก่อนที่จะทำการตรวจสอบเพิ่มเติม เช่น การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG) หรือการตรวจเลือด เพื่อดูว่ามีปัญหาสุขภาพใดที่เป็นสาเหตุของอาการใจสั่นหรือไม่ หากพบว่ามีภาวะสุขภาพที่ต้องรักษา แพทย์จะเสนอแผนการรักษาที่เหมาะสม ซึ่งอาจรวมถึงการใช้ยา การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิต หรือการทำหัตถการต่างๆ ขึ้นอยู่กับสาเหตุของอาการ อาการใจสั่นอาจเป็นอาการที่ไม่รุนแรงในบางกรณี แต่ถ้ามีอาการที่รุนแรงหรือเกิดบ่อยครั้ง ควรไปพบแพทย์เพื่อหาสาเหตุและรับการรักษาอย่างเหมาะสม การรับรู้ถึงสัญญาณเตือนเหล่านี้และการไปหาหมอเมื่อจำเป็น จะช่วยให้คุณสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้ดียิ่งขึ้น และลดความเสี่ยงจากปัญหาสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต

PM 2.5 ส่งผลต่อสุขภาพอย่างไร ?

‼️😷PM 2.5 ส่งผลต่อสุขภาพอย่างไร ? ⚠️ผลกระทบระยะสั้น ⚠️ผลกระทบระยะยาว 3.- เสี่ยงแท้ง/คลอดก่อนกำหนด “ดูแลสุขภาพตนเองและคนในครอบครัวอย่างใกล้ชิด” ➡️ข้อมูลจาก : คู่มือฉบับประชาชน การเฝ้าระวัง PM 2.5 อย่างไรให้ปลอดภัย ติดตามผ่านทาง Facebook : https://cmu.to/rDLLK ❤️ ด้วยความห่วงใย จาก #คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ #PM25 #ผลกระทบ#MedCMU #คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ #แพทย์เชียงใหม่ #แพทย์มช #หมอสวนดอก #โรงพยาบาลสวนดอก #MedCMUในมือคุณ #สื่อสารองค์กรMedCMU

1 2 3 362